Page 137 - kpi16531
P. 137

6)
 คาธรรมเนียมการนํายานยนตเขาในพื้นที่
 เทศบาลจัดเก็บคาธรรมเนียมการขับขี่ยานยนตเขาไปในพื้นที่ควบคุมจํานวนยานยนต เพื่อทําการ
 ควบคุมจํานวนยานยนตในพื้นที่เหลานั้น ซึ่งสวนใหญเปนพื้นที่ที่ตองการรักษาความสงบ พื้นที่อนุรักษทาง
 ประวัติศาสตร และพื้นที่อนุรักษสิ่งแวดลอม อัตราคาธรรมเนียมกําหนดไวไมเกิน 20 โครูนาตอวัน และ
 เทศบาลสามารถเรียกเก็บรวมเปนเงินกอนเดียวจากการใชบริการหลายครั้งได ทั้งนี้ เทศบาลยกเวนการ
 จัดเก็บคาธรรมเนียมจากผูที่มีที่พักอาศัยในพื้นที่ รวมทั้งเครือญาติใกลชิด ตลอดจนผูประกอบธุรกิจหรือผู
 ทํางานในพื้นที่เหลานั้น และผูพิการ
 7)
 คาธรรมเนียมตูเกมพนัน
 เทศบาลจัดเก็บคาธรรมเนียมตูเกมพนันจากผูที่ไดรับอนุญาตใหติดตั้ง โดยคิดคาธรรมเนียมตาม
 จํานวนตูที่เปดใชงาน อัตราคาธรรมเนียมการติดตั้งสําหรับระยะเวลาสามเดือนอยูระหวาง 1,000-5,000 โครู
 นาตอตู ซึ่งอัตราคาธรรมเนียมมักแตกตางกันออกไปตามสถานที่ตั้ง และไมมีขอยกเวนในการจัดเก็บ
 คาธรรมเนียมประเภทนี้   120  นวัตกรรมการพัฒนารายได้
                ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 8)   คาธรรมเนียมการบริการเก็บ ขน และกําจัดขยะ
                        8) ค่าธรรมเนียมการบริการเก็บ ขน และกำจัดขยะ
 เทศบาลจัดเก็บคาธรรมเนียมสําหรับการบริการเก็บรวบรวม การขน การคัดแยก และการกําจัดขยะ
                          เทศบาลจัดเก็บค่าธรรมเนียมสำหรับการบริการเก็บรวบรวม การขน การคัดแยก และ
 ชุมชน ซึ่งเทศบาลจัดเก็บจากผูที่มีที่พักอาศัย เจาของบาน หรือตัวแทนเจาของบานในเขตพื้นที่
               การกำจัดขยะชุมชน ซึ่งเทศบาลจัดเก็บจากผู้ที่มีที่พักอาศัย เจ้าของบ้าน หรือตัวแทนเจ้าของบ้าน
               ในเขตพื้นที่
 9)   คาธรรมเนียมการติดตั้งระบบน้ําและระบบบําบัดน้ําเสียในสิ่งปลูกสราง
                        9) ค่าธรรมเนียมการติดตั้งระบบน้ำและระบบบำบัดน้ำเสียในสิ่งปลูกสร้าง
 วัตถุประสงคของการจัดเก็บคาธรรมเนียมประเภทนี้ คือ เพื่อใหเทศบาลไดรับตนทุนในการ
                          วัตถุประสงค์ของการจัดเก็บค่าธรรมเนียมประเภทนี้ คือ เพื่อให้เทศบาลได้รับต้นทุน
 ดําเนินการคืน ซึ่งเทศบาลสามารถจัดเก็บคาธรรมเนียมไดจากเจาของสิ่งปลูกสราง และจัดเก็บไดเพียงครั้ง
               ในการดำเนินการคืน ซึ่งเทศบาลสามารถจัดเก็บค่าธรรมเนียมได้จากเจ้าของสิ่งปลูกสร้าง และจัดเก็บ
 เดียวเทานั้น   ได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น
                      = การจัดเก็บค่าธรรมเนียมการใช้บริการสาธารณะของท้องถิ่นประเทศ

   การจัดเก็บคาธรรมเนียมการใชบริการสาธารณะของทองถิ่น
               อเมริกา

 ประเทศสหรัฐอเมริกา                                  Robert L. Bland, 2010, pp. 157-183: ให้ข้อมูล
                                                เกี่ยวกับการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการใช้บริการสาธารณะ
 Robert L. Bland, 2010, pp. 157-183: ใหขอมูลเกี่ยวกับการ  (Service charges) ของท้องถิ่นในประเทศอเมริกา โดยมี

 จัดเก็บคาธรรมเนียมการใชบริการสาธารณะ (Service  charges) ของ  รายละเอียด ดังนี้

 ทองถิ่นในประเทศอเมริกา โดยมีรายละเอียด ดังนี้      องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศอเมริกาทั้งรูปแบบ

                                                เทศบาล (Municipality) และเคาน์ตี้ (County) มีแนวโน้มพึ่งพา
 องคกรปกครองสวนทองถิ่นในประเทศอเมริกาทั้งรูปแบบเทศบาล (Municipality) และเคานตี้
               รายได้จากค่าธรรมเนียมการใช้บริการสาธารณะมากขึ้น โดยเทศบาลขนาดเล็กพึ่งพารายได้จากค่า
 (County) มีแนวโนมพึ่งพารายไดจากคาธรรมเนียมการใชบริการสาธารณะมากขึ้น โดยเทศบาลขนาดเล็ก
               ธรรมเนียมมากกว่าเทศบาลขนาดใหญ่ เพราะเทศบาลขนาดเล็กมีอำนาจในการจัดเก็บภาษีได้
               ค่อนข้างน้อยประเภท ขณะที่ เทศบาลขนาดใหญ่มีแหล่งรายได้ที่หลากหลายมากกว่า
 พึ่งพารายไดจากคาธรรมเนียมมากกวาเทศบาลขนาดใหญ เพราะเทศบาลขนาดเล็กมีอํานาจในการจัดเก็บ
               ตารางที่ 7: ร้อยละรายได้ของเทศบาลในประเทศอเมริกาจากแหล่งรายได้ต่างๆ
 ภาษีไดคอนขางนอยประเภท ขณะที่ เทศบาลขนาดใหญมีแหลงรายไดที่หลากหลายมากกวา

                             แหล่งรายได้                1991-1992        1996-1997        2001-2002
               ภาษีทรัพย์สิน               15               25.1             22.7             22.8
               ภาษีอื่นๆ                                    22.3             23.9             24.2

               ค่าธรรมเนียมการใช้บริการสาธารณะ             18.7             20.9             20.4
               ค่าธรรมเนียมการใช้สาธารณูปโภค               22.1             21.4             21.5

               รายได้อื่นที่ไม่ใช่ภาษี                      11.9             11.1             11.1
               รวม                                          100              100              100

               ที่มา: Robert L. Bland, 2010, “Service charges and regulatory fees”, A Revenue Guide for Local
                            nd
               Government, 2  ed., United States of America: ICMA, P 160.

                        จากตารางข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ในปี ค.ศ. 2001 รายได้จากค่าธรรมเนียมการใช้
               บริการสาธารณะรวมกับรายได้จากค่าธรรมเนียมการใช้บริการสาธารณูปโภค (utility charges)

               คิดเป็นร้อยละ 41.9 ของรายได้ทั้งหมดของเทศบาล ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี ค.ศ. 1991 ที่คิดเป็นร้อยละ
               40.8
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142