Page 32 - kpiebook67026
P. 32

31



                      ทั้งนี้ ในการศึกษาจะได้ท�าการวิเคราะหข้อมูล โดยใช้เทคนิคในการวิเคราะห
               เนื้อหา (Content Analysis) ที่ปรากฏและน�าเสนอผ่านเอกสารที่รวบรวมไว้

               และท�าการวิเคราะหเปรียบเทียบกับบริบทของสังคมไทยเพื่อให้เกิดข้อเสนอแนะ
               หรือบทเรียนที่สามารถน�ามาประประยุกตหรือเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อน

               กฎหมายรับรองเพศสภาพในสังคมไทย

                      โดยการวิเคราะหข้อมูลเริ่มขึ้นตั้งแต่เริ่มด�าเนินการโครงการจนสิ้นสุดโครงการ

               โดยท�าการวิเคราะหในระหว่างกระบวนการทบทวนวรรณกรรม ประชุมวางแผน
               การท�าวิจัย และเก็บข้อมูล ประชุมทีมประจ�าเดือนในทุก ๆ เดือน และประชุม

               เชิงปฏิบัติการนอกสถานที่ เพื่อสรุป วิเคราะห และสะท้อนกลับจากนักวิจัย เป็นต้น






               1.6 กรอบแนวคิดในการศึกษา

                      การด�าเนินงานของโครงการประชุมงานวิจัยกฎหมายรับรองเพศสภาพ :

               กรณีประเทศอารเจนตินา มอลตา และไอซแลนด ในเดือนกรกฎาคม 2023
               ได้มีการจัดประชุมทีมวิจัยเพื่อวางแผนการท�างานในเรื่องของการวางกรอบแนวคิด
               ในมิติทางกฎหมายที่เปรียบเทียบระหว่าง 3 ประเทศ และผลกระทบในการใช้กฎหมาย

               มีมิติกฎหมาย การด�าเนินงานภาครัฐและเอกชน สิทธิ สังคม วัฒนธรรม และคุณภาพ






               1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

                      ได้รับทราบถึงผลกระทบในมิติกฎหมาย การด�าเนินงานรัฐและเอกชน

               สิทธิ สังคม วัฒนธรรม และคุณภาพชีวิตของกลุ่มคนที่ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมาย
               รับรองเพศสภาพในประเทศอารเจนตินา มอลตา และไอซแลนด เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐาน

               ส�าหรับการจัดท�าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและกฎหมายส�าหรับประเทศไทยต่อไป
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37