Page 108 - kpiebook66032
P. 108

ภาพที่ 17: นางอร และนายพร (นามสมมติ) อาศัยอยู่ในตำบลบางกุ้ง อำเภอเมือง

           สุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รับการช่วยเหลือในการซ่อมแซมที่อยู่อาศัย


     ท้องถิ่นในโลกยุควูก้า (VUCA WORLD)
























           ที่มา: เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี, การจัดทำฐานข้อมูล One data for all, (ม.ป.ท.: ม.ป.พ., 2566).


           เพราะการปักหมุด...จะไม่หยุดเพียงเท่านี้

                 ความยั่งยืนของโครงการนี้ ดังจะเห็นได้จากการที่เทศบาลได้บรรจุโครงการบันทึก
           พิกัดแผนที่ทางภูมิศาสตร์ (GPS) ผู้รับเบี้ยผู้สูงอายุและผู้พิการเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีลงใน

           แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2566-2570 แผนงานสังคมสงเคราะห์ หน้า 154 ข้อ 11 และบรรจุ
           โครงการพัฒนาระบบข้อมูลครัวเรือนชุมชนเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีลงในแผนพัฒนาท้องถิ่น
     ส่วนที่   บันทึกเรื่องเด่น   พ.ศ. 2566-2570



                 พร้อมกับได้พยายามให้เกิดการต่อยอดในเรื่องการบริการประชาชน การขยายฐานข้อมูล
           ไปสู่ประชาชนกลุ่มเปราะบางกลุ่มอื่น ทำให้ “ภารกิจการปักหมุด” ยังไม่หยุดเพียงแค่การดูแล

           กลุ่มเปราะบาง แต่ยังมีการคิดหา “การปักหมุด” ในเรื่องอื่น ๆ ด้วย


                       “เรามีแผนต่อยอดการปักหมุดในเรื่องต่าง ๆ เพิ่มต่อไป ขยายการปักหมุด
                 ผู้ป่วยติดเตียง มีโครงการพันเตียง เรื่องเด็กได้ทุนการศึกษาของกองการศึกษา
                 ช่าง Delivery ปักหมุดถังสารเคมีหัวแดงจ่ายน้ำของสำนักปลัดฯ และด้านท่องเที่ยว

                 โดยเราจะขยายทุกกองเลย เพื่อให้มีข้อมูลบริการประชาชน”  86



               86   Personal communication, 21 มีนาคม 2566.



        102    สถาบันพระปกเกล้า
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113