Page 216 - kpiebook66030
P. 216

สรุปการประชุมวิชาการ
     20  สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 24
       ความท้าทายของความมั่นคงใหม่กับประชาธิปไตย


           Empire’ หมายถึง การกลับมาใช้หลักการและวิธีการดำเนินการระหว่างประเทศเมื่อครั้งที่
           สหราชอาณาจักรเป็นจักรวรรดิบริติช (The British Empire) ในช่วงศตวรรษที่ 19
           ถึงต้นศตวรรษที่ 20 เพื่อใช้ในการแพร่ขยายวาทกรรมทางการเมืองและนโยบายต่างประเทศ
           ไปทั่วโลกในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านความมั่นคงทางการทหารและการเป็นผู้นำด้าน

           การค้าเสรีในฐานะผู้นำโลกในระบอบประชาธิปไตย โดยผู้เขียนได้นำแนวคิดดังกล่าววิเคราะห์
           ผ่าน 3 สถานการณ์ ได้แก่ 1) บทบาทของสหราชอาณาจักรในการเข้าไปช่วยเหลือ
           และสนับสนุนรัฐบาลยูเครนในวิกฤตการณ์รัสเซีย-ยูเครน 2) สหราชอาณาจักรกับ

           กรอบความร่วมมือด้านการทหารกับสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียที่มีชื่อเรียกว่า ‘AUKUS’
           และ 3) การสมัครเข้าร่วมในข้อตกลงความครอบคลุมและความก้าวหน้าเพื่อหุ้นส่วนทางการค้า
           ภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก (Comprehensive and Progressive Agreement for Trans-Pacific
           Partnership) หรือที่รู้จักกันในนาม CPTPP ข้อค้นพบของบทความ คือ บทบาทของ
           สหราชอาณาจักรและนโยบายต่างประเทศจะยังคงดำเนินต่อไปภายใต้แนวคิดความเป็นใหญ่

           ของโลก หรือ global approach ที่รัฐบาลได้ใช้เป็นหลักการสำคัญในการดำเนินนโยบาย
           ต่างประเทศของรัฐบาลสหราชอาณาจักรมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2
           โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหราชอาณาจักรจะนำกรอบนโยบายหรือแนวคิดในบทบาทของ

           จักรวรรดิบริติชภายใต้แนวคิด ‘Global Britain’ นำเสนอบทบาทในฐานะผู้นำในการสนับสนุน
           รัฐบาลประชาธิปไตย ผ่านความร่วมมือทางด้านการค้า ความมั่นคงทางการทหาร และ
           การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ทั้งนี้สหราชอาณาจักรยังคงเล็งเห็นถึงผลประโยชน์
           แห่งชาติเป็นสำคัญและมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการต่อต้านระบอบอำนาจนิยมหรือเผด็จการ


           คำสำคัญ: หลักประชาธิปไตย, ภูมิรัฐศาสตร์ใหม่, สหราชอาณาจักร, แนวคิด ‘Global
           Britain’, ระบอบอำนาจนิยมหรือเผด็จการ



           Abstract


                 The role of the Great Power in the twenty-first century has been consistently
           highlighted in scholarly politics and international studies over the last five years,
           particularly the policy implementation of the Great Power as the democratic

           leadership to prevent the threat of authoritarian governments. In this respect, this
           article focuses on the position of the United Kingdom in Europe and the Indo-
    บทความที่ผ่านการพิจารณา   Pacific region after the European referendum in 2016 within the concept of ‘Global


           Britain’. The article analyses the UK’s position in the democratic leadership, drawing
           on Oliver Turner’s classification of a new British foreign policy within the ‘Global
           Britain’ concept and the narrative of Empire.  This notion is in recognising the
           legacies of an empire which pervade UK political and foreign policy discourse,
   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221