Page 196 - kpiebook66030
P. 196

สรุปการประชุมวิชาการ
     1   สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 24
       ความท้าทายของความมั่นคงใหม่กับประชาธิปไตย


                 ประเด็นถัดมาเรียกว่า Resilient Economy เป็นเรื่องของความยั่งยืนซึ่งไม่ควร Depend
           กับต่างประเทศมากเกินไปแต่ Resiliency Supply Chain ถูกใช้เป็นข้ออ้างในการสร้างข้อกีดกัน
           ทางการค้า ดังนั้นประเด็นนี้คือการตัดโอกาสทำมาหากิน จากเดิมที่ค้าขายกับใครก็ได้อยากจะ
           Offshore อยากจะ Export อยากจะ Import สามารถทำได้ เนื่องจากประเด็นแรกเป็นเรื่อง

           ของมาตรฐานที่สูงขึ้นต้นทุนก็สูงขึ้น อย่างไรก็ตามหากทำตามประเด็นที่หนึ่งและสองแล้ว
           ประเทศอเมริกาจะสนับสนุนความเชื่อมโยง Infrastructure เชื่อมโยงเรื่องของถ่ายทอด
           เทคโนโลยี Decarbonization Clean Energy เพราะฉะนั้นสิ่งที่อเมริกาทำตอนนี้ก็คล้าย ๆ กัน

           Belt and Road คือการ Request and Offer  ประเทศจีนอยากได้ Eco System ที่ให้ธุรกิจ
           จีนมาทำภายในประเทศได้ และหากทำตามที่จีนอยากได้ เดี๋ยวจีนก็จะเชื่อมโยงโครงสร้าง
           พื้นฐานให้ จีนเรียกโครงการนี้ว่า BRI อเมริกาก็เรียกโครงการนี้ว่า B3W คือถึงยุคที่อเมริกา
           เลียนแบบนโยบายจีนแล้วไม่น่าเชื่อ เรากำลังอยู่ในโลกที่ประหลาดมาก ลองนึกภาพ
           นายกรัฐมนตรีอังกฤษเป็นคนเชื้อสายอินเดียใช่ไหมครับ ในขณะที่ Global Value Chain

           ที่อเมริกาปั้นมาอเมริกาก็ทำลายเองกับมือ และจีนก็พูดเรื่อง Globalization แทน ซึ่งเป็นเรื่องที่
           เกินความคาดหมาย

                 ขณะนี้กฎกติกาใหม่ของอเมริกาเน้น Geo-politics, Geo-economic, Geo-statistics
           เพราะฉะนั้น The new world order จะทำให้เกิด Dynamic ที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก และ

           Disrupt ถึงแม้จะไม่อยากเปลี่ยนแต่จะโดนกระชากให้เปลี่ยน ดังนั้น Global Value Chain
           ที่คิดว่าน่าจะฟื้นตัวเพิ่มขึ้น จะเห็นได้ว่าวิกฤตอยู่กับประเทศไทย 3 ปี อาจจะไม่ใช่ต่อไป
           โควิด-19 อาจจะยาวนานกว่านั้น เพราะการฟื้นตัวกลับสู่ 18 ล้านล้านของ Global Value

           Chain คงช้าเกินไป แน่นอนจะเกิดการ decoupling ออกเป็น 2 ห่วงโซ่คือ value chain
           ทางด้านโลกตะวันตก ยุโรป อเมริกา ญี่ปุ่น เกาหลี กับ value chain ของจีนที่มีจีนแล้วก็รัฐอื่น
           ที่เป็นประเทศเล็ก ๆ เช่นประเทศไทยที่พยายามอย่างยิ่งที่จะทำตัวเป็นโซ่ข้อกลาง เพื่อให้เขามา
           ลงทุนและเป็นสปริงบอร์ดค้าขายกับทั้ง 2 ฝ่าย แต่แน่นอนข้อกีดกันทางการค้าจะมากยิ่งขึ้น
           โดยใช้ข้ออ้างเรื่อง Supply Chain resiliency แล้วต่อจากนี้ globalization คงไม่มี อาจจะเป็น

           ชุดความคิดเรื่อง Anti – Globalization และคือชุดความคิดที่เป็นตัวนำไม่ใช่ economic อีกต่อไป
           แต่จะเป็น security และจะถูกกดดันโดยเฉพาะจากฝ่ายอเมริกาให้เลือกข้าง แบ่งฝักแบ่งฝ่าย
           มากยิ่งขึ้น


                 อีกประเด็นหนึ่งที่อยากจะกล่าวถึง คือ กระบวนการของอาเซียนที่พยายามจะเป็น single
    สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 5   หลัง 2025 อาเซียนจะพูดถึงเรื่องอะไร เช่น ประเทศไทยดำเนินการเรื่อง RCEP Model และมี
           market และกำลังพยายามทำก็คือการ upgrade อาเซียนให้เท่าทันโลก เช่น ระดมสมองกันว่า

           การตั้ง timeline ในการดำเนินการแต่ละเรื่องให้ชัดเจนว่าเรื่องนี้ต้องจบให้ได้ภายในปีไหนแสดง

           political view แล้วก็ทำงานกันอย่างจริงจังและต้องเป็นเรื่องที่ต้องมาคิดร่วมกันในการที่จะทำ
           Asian vision 2040 ว่าฉากทัศน์ที่อยากได้ใน 2040 ควรจะอยู่ตรงไหนและเป็นอย่างไร
           อะไรเป็น driving force อะไรเป็นเหตุปัจจัยตรงนั้นแล้วก็ทำตามกระบวนการ ประเทศไทย
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201