Page 143 - kpiebook66028
P. 143

สถาบัันพระปกเกล้้า




                        ร�างฯ ของ กมธิ์. และพิรรคก�าวไกล ให�คำนิิยามเหมือนิกันิว�า:


                        ‘“กัลุ่มชุาติิพื้ันธุ์”  หมายคืวามว่า  บุคืคืลหร้อกัลุ่มคืนที่่�ม่อัติลักัษณ์
                 ที่างวัฒนธรรม ภูาษา ขึ้นบธรรมเน่ยม ประเพื้ณ่ วิถึ่ชุ่วิติและคืวามเชุ้�อร่วมกััน

                 ที่ั�งน่�ให�หมายรวมถึึงชุนเผ่่าพื้้�นเม้องด�วย’


                        ร�างฯ ของ ศัมส. นิิยามว�า:


                        ‘“กัลุ่มชุาติิพื้ันธุ์” หมายคืวามว่า กัลุ่มคืนที่่�อาศัยอย้่เป็นกัลุ่มเด่ยวกัันหร้อ

                 หลายกัลุ่มหร้อเป็นชุนเผ่่าพื้้�นเม้อง ซึ่ึ�งม่อัติลักัษณ์และกัารสัั�งสัมที่างวัฒนธรรม
                 ภูาษา วิถึ่ชุ่วิติ ภู้มิปัญญา คืวามเชุ้�อ และวิถึ่ชุ่วิติติามจาร่ติประเพื้ณ่ร่วมกััน’


                        การเสนิอคำนิิยาม “กล่�มชูาติพิันิธิ์่์” ของ กมธิ์. พิรรคก�าวไกล และ ศัมส.

                 ทำให�เกิดิ์คำถามสองประการ ไดิ์�แก� ประการแรก คำว�า “ชูนิเผู้�าพิื�นิเมือง” ไม�มีคำ
                 อธิ์ิบัาย หรือจะใชู�แทนิกันิไดิ์�กับัคำว�า “กล่�มชูาติพิันิธิ์่์” ประการที�สอง ดิ์ังที�ไดิ์�อภัิปราย

                 ไว�ในิตอนิต�นิแล�วว�า คำว�า “กล่�มชูาติพิันิธิ์่์” เป็นิการจัดิ์แบั�งกล่�มโดิ์ยมองหาความ
                 เหมือนิ หรือลักษณีะร�วมกันิในิดิ์�านิต�าง ๆ จึงหมายความว�า มนิ่ษย์ท่กคนิต�องมีสังกัดิ์
                 กล่�มชูาติพิันิธิ์่์ใดิ์ชูาติพิันิธิ์่์หนิึ�ง ซึ่ึ�งอาจตีความไดิ์�ว�าใครก็ไดิ์�ที�มีการสั�งสมทางวัฒนิธิ์รรม

                 ภัาษา วิถีชูีวิต ขนิบัธิ์รรมเนิียมประเพิณีี ภัูมิป่ญญา และความเชูื�อของกล่�มตนิ
                 ย�อมสามารถอ�างประโยชูนิ์จากกฎหมายนิี�ไดิ์� ซึ่ึ�งก็คือพิลเมืองไทยท่กคนิ


                        ในิขณีะที� ร�างฯ ของ สชูพิ. ความเป็นิชูนิเผู้�าพิื�นิเมืองก็คือกล่�มชูาติพิันิธิ์่์

                 ที�ไม�เพิียงแต�รักษาอัตลักษณี์ต�าง ๆ ข�างต�นิไว�ไดิ์� แต�ยังเป็นิผูู้�ที� ‘มิได�เป็นกัลุ่มคืรอบงำ
                 ที่างเศรษฐกัิจ สัังคืม กัารเม้อง และวัฒนธรรม และพื้ิจารณาตินเองว่าม่คืวามแติกัติ่าง
                 ไปจากัภูาคืสั่วนอ้�น ๆ ขึ้องสัังคืม’ นิิยามนิี�จึงม่�งไปที�กล่�มชูาติพิันิธิ์่์ที�เป็นิกล่�มดิ์�อย

                 โอกาสหรือถูกกระทำให�เป็นิกล่�มคนิชูายขอบัของสังคมใหญ�


                        ส�วนิร�างฯ ของ P-Move มีลักษณีะพิิเศัษที�กล�าวถึงนิิยาม “กล่�มชูาติพิันิธิ์่์”
                 ที�ไดิ์�แจกแจงความเป็นิ “ชูนิเผู้�าพิื�นิเมือง” โดิ์ยนิำคำอธิ์ิบัายจากร�างฯ ของ สชูพิ.







                                                 135
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148