Page 102 - kpiebook66013
P. 102
ประเด็นที่ 1 การตรากฎหมายรับรองเรื่องความเท่าเทียมและการไม่เลือก
ปฏิบัติทางแรงงานที่ยังไม่สมบูรณ์ตามนัยแห่งรัฐธรรมนูญ
และตามความในอนุสัญญาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
ฉบับที่ 111
ประเด็นที่ 2 การน�าเนื้อหาของแผนยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บท
มาใช้เพื่อพัฒนากฎเกณฑ์เกี่ยวกับการจ้างแรงงาน ยังไม่ปรากฏ
ให้เห็นอย่างชัดเจนเพียงพอ
ประเด็นที่ 3 กลไกในแผนปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย หลายเรื่องน่าสนใจ
และเชื่อได้ว่าหากมีการสานต่ออย่างจริงจังจักเป็นประโยชน์มาก
เช่น การจัดท�าประมวลกฎหมาย และหลักเรื่องสัมฤทธิ์ผล
ของกฎหมาย
ประเด็นที่ 4 การน�าแนวคิดเกี่ยวกับ “สัญญาจ้างแรงงานพิเศษ” มาใช้
เพื่อก�าหนดทิศทางตลาดแรงงาน
ประเด็นที่ 5 ตรากฎหมายล�าดับศักดิ์รองเพื่อความชัดเจนและการน�า
กฎหมายที่มีอยู่ไปบังคับใช้ได้อย่างแท้จริง กับทั้งการศึกษา
กลไกบางอย่างให้มีความเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบ
ประเด็นที่ 6 เสรีภาพในการรวมกลุ่มและทางแรงงาน และการจัดให้มี
การเจรจาร่วมเพื่อก�าหนดข้อตกลงของภาคีสังคมในกลุ่มอาชีพ
ต่างๆ เพื่อก�าหนดขึ้นเป็นกฎเกณฑ์การจ้างงาน ซึ่งถือเป็น
กฎเกณฑ์การใช้แรงงานที่ส�าคัญรองจากกฎหมายที่รัฐสภาตราขึ้น
ประเด็นที่ 7 การพัฒนาค�าพิพากษาของศาลที่ส�าคัญเป็นที่มาของกฎหมาย
และค�าพิพากษาบางส่วนมีความก�ากวม อาจใช้เป็นบทเรียน
เพื่อก�าหนดทิศทางของเรื่องที่เป็นปัญหาซึ่งอาจเป็นปัญหา
แรงงานที่ค่อนข้างเป็นปัจจุบัน
ประเด็นที่ 8 การศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับ “อ�านาจบังคับบัญชา” กับวิธีการ
จ้างงานสมัยใหม่มุมมองกฎหมายแรงงานไทยในฐานะกฎเกณฑ์
ที่ใช้ก�ากับมาตรฐานแรงงานในภาคอุตสาหกรรม
ประเด็นที่ 9 แนวคิดใหม่เกี่ยวกับการจ้างงานในศตวรรษที่ 21 ไม่ว่าจะเป็น
เรื่อง วิถีการท�างานแบบใหม่ ตามหลัก decent work
102 การปรับปรุงกฎหมายแรงงาน
ภายใต้โครงการศึกษาวิเคราะห์ร่างกฎหมายและกฎหมายที่มีผลใช้บังคับอยู่