Page 293 - kpiebook65066
P. 293

221






                              4.๔.๔ โครงการแกไขปญหาการอานไมออกเขียนไมไดของเด็กในเขตพื้นที่ตําบลนาพู
                       องคการบริหารสวนตําบลนาพู
                                     1) ปญหา ที่มาของปญหา และผลกระทบจากปญหา องคการบริหารสวนตําบล
                       นาพูมีนักเรียนที่เขาศึกษาชั้นประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

                       อุดรธานี จํานวน 6 แหง เปนโรงเรียนขยายโอกาส 3 แหง จากการเก็บขอมูลประเด็นปญหาของแต
                       ละโรงเรียน มีปญหาตรงกันในเรื่องของการอานไมออก เขียนไมไดของเด็กในสถานศึกษา ซึ่งอายุเด็ก
                       อยูในชวง 6-15 ปหรือศึกษาในชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6 (ป.1-ป.6) อันเนื่องมาจากการเรียนในหวง
                       สถานการณการแพรระบาดของเชื้อโควิด-19 (COVID-19) ใน 2 ปการศึกษาที่ผานมา ทําใหการ

                       จัดการเรียนการสอนในแตละโรงเรียนไมสัมฤทธิ์ผลเทาที่ควร ตลอดจนขนาดของโรงเรียนที่มีจํานวน
                       บุคลากรแตกตางกัน อยางเชน โรงเรียนที่มีบุคลากรครู 1-3 คน และมีจํานวนนักเรียนไมถึง 50 คน
                       จํานวน 2 แหง ทําใหเกิดปญหาเด็กเรียนรูไดไมเต็มที่ สงผลใหการจัดการเรียนการสอนเปนไปอยาง
                       ยากลําบาก ซึ่งปญหาดังกลาว ทางโรงเรียนมีความคิดเห็นตรงกันในการระดมความคิด เพื่อจะ

                       แกปญหาใหกับเด็กกลุมเปาหมาย สามารถอานออกเขียนได
                                     องคการบริหารสวนตําบลนาพู ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญ และปญหาดังกลาว จึงได
                       จัดทําโครงการแกไขปญหาการอานไมออก เขียนไมไดของเด็กในเขตพื้นที่ตําบลนาพู เพื่อพัฒนา

                       คุณภาพดานการศึกษา และฟนฟูสภาวะถดถอยทางการเรียน รวมถึงใหเด็กกลุมเปาหมายสามารถ
                       อานออกเขียนได เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษาตอไป โดยพบวาที่มาของปญหาดังกลาวเกิดจาก (1)
                       ดานครอบครัว โดยการไปประกอบอาชีพของพอแม ทําใหเด็กตองอาศัยกับตายายวัยผูสูงอายุ หรือพอ
                       แมไมมีเวลาสอน/ทบทวนการอาน-การเขียนใหแกลูก (2) ดานการไดรับโอกาสของเด็ก ครอบครัวมี
                       ฐานะยากจน ไมมีรายได ทําใหเด็กขาดโอกาสหรือไมมีโอกาสที่จะเขารับบริการทางการศึกษาหรือรับ

                       การพัฒนาทั้งทางรางกาย สติปญญา อารมณ สังคม (3) ดานจํานวนบุคลากร จํานวนทรัพยากรดาน
                       บุคลากรทางการศึกษาไมเพียงพอตอจํานวนนักเรียน (4) อุปกรณทางการศึกษา ดานเทคโนโลยี/สื่อ
                       การเรียนรูที่ไมเพียงพอกับจํานวนนักเรียน และ (5) การจัดการเรียนการสอน อันเนื่องมาจากสภาวะ

                       การแพรระบาดของเชื้อ โควิด-19 (COVID-19) ใน 2 ปการศึกษาที่ผานมา (ในป 2563-2564)
                                     จากปญหา และที่มาของปญหาพบวา เด็กนักเรียนมีความสนใจในการเรียนลด
                       นอยลง เนื่องจากสื่อ และสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป ครูผูสอนในระดับประถมศึกษาที่ไมไดเรียนจบ
                       มาทางดานการสอนภาษาไทย ทําใหขาดหลักการ และกลวิธีในการสอน การอานและการเขียน ทําให

                       เปนวิชาที่ขาดความสนใจ ไมสอดคลองกับความสนใจของเด็กในวัยนั้น เด็กเกิดความไมมั่นใจ และปด
                       โอกาสตัวเองในดานการพัฒนาทางคุณภาพการศึกษา สงผลใหการอาน และการเขียนของเด็กมี
                       ความสามารถนอยกวาเพื่อนในระดับชั้นเดียวกัน
                                     2) วิธีการแกไขปญหาที่ได วิธีการแกไขปญหาที่เลือกมา ไดแก (1) การพัฒนา

                       บุคลากรใหมีความพรอม (2) จัดหาวิทยากรผูเชี่ยวชาญดานการผลิตสื่อการเรียนรู (3) นําบุคลากรมา
                       อบรมผลิตสื่อและเรียนรูรวมกัน และ (4) วางแผนการทํากิจกรรมในการแกไขปญหารวมกัน สาเหตุที่
                       เลือกเพราะ (1) เพื่อใหบุคลากรมีความพรอมดานการสอน และสามารถผลิตสื่อการเรียนรูดาน
                       ภาษาไทยใหมีคุณภาพ สอดคลองกับการแกไขปญหาเด็กอานไมออก เขียนไมได (2) เพื่อใหผูที่มี

                       ความรูความเชี่ยวชาญดานการผลิตสื่อการเรียนรูในการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพ
   288   289   290   291   292   293   294   295   296   297   298