Page 288 - kpiebook65066
P. 288

216






                       เพชรบูรณ (วังชมภูวิทยาคม) โดยนักเรียนสวนใหญอาศัยอยูในตําบลวังชมภู ตําบลนายม ตําบลหวย
                       สะแก ตําบลระวิงพบวา มีนักเรียนบางสวนอานไมคลอง เขียนไมคลอง สงผลตอการเรียนและ
                       ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน รวมถึงการดําเนินชีวิต และโอกาสในการพัฒนาตนเอง
                                     ที่มาของปญหาเกิดจาก (1) การยายถิ่นฐานของผูปกครอง ทําใหเด็กตองยายติดตาม

                       เปลี่ยนโรงเรียนบอย ๆ (2) วิธีการสอนของครูไมสามารถทําใหเด็กอานออกได เชน ขาดความชํานาญ
                       และประสบการณในการสอนภาษาไทย หรือบางโรงเรียนขาดครูสอนภาษาไทยโดยเฉพาะ
                       นอกจากนั้นครูมีจํานวนนอย หรือบางโรงเรียนขาดครูสอน (3) เด็กไทยไมไดรับการปลูกฝงที่ดีใหมี
                       นิสัยรักการอานตั้งแตเด็ก (4) เนื้อหาวิชาในหลักสูตรไมเหมาะสมกับการเรียนรู และวัยของนักเรียน

                       (5) นโยบายไมใหเด็กเรียนซ้ําชั้น ทําใหเด็กเรียนออนเลื่อนไปเรียนชั้นสูง ทั้งอานไมออก เขียนก็ไมได
                       (6) ผูปกครองบางคนทํางานจนลืมลูก ไมมีเวลาสอนการบานและไมฝกการอานการเขียนที่บานแก
                       บุตรหลานมอบภาระแกครู หรือครูสอนพิเศษ หรือการกวดวิชา และ (7) หลักการสอนภาษาไทย
                       สมัยใหม ไมนิยมสอนแจกลูก-สะกด เชน “เรียน” = เอ-รอ-อี-ยอ-นอ = เรียน แสดงวาครูไมสอนแจก

                       ลูก-สะกดคํา และผันเสียง
                                       จากปญหา และที่มาของปญหาที่สํารวจไดนั้น ทําใหทราบวาเด็กที่อานไมคลอง
                       เขียนไมคลองสวนใหญ ไดรับโอกาสทางการศึกษา และโอกาสที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตนอยกวาเด็กคน

                       อื่น ๆ เนื่องจากเกิดความอับอายเมื่อเรียนในหองเรียน และการใชชีวิตประจําวัน ทําใหไมสนใจเรียน
                       และศึกษาตอ ผลกระทบดังกลาวทําใหเด็กขาดโอกาสในการพัฒนาเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
                       สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมโดยไมเปนภาระ หรือสรางความเดือดรอนใหกับสังคมในอนาคต
                                     2) วิธีการแกไขปญหาที่ได วิธีการแกไขปญหา คือ (1) การคัดเลือก และพัฒนาครู
                       อาสา (2) คัดเลือกนักเรียนเขารวมโครงการ (3) สรางความเขาใจกับผูปกครองนักเรียนที่เขารวม

                       โครงการ (4) จัดกิจกรรมอานเกง เขียนคลอง และ (5) จัดกิจกรรมจิตอาสาพานองอาน โดยสาเหตุที่
                       เลือกวิธีการแกไขปญหาดังกลาวเนื่องจาก (1) เพื่อคัดเลือกครูอาสาที่มีคุณลักษณะ รักเด็ก เขาใจเด็ก
                       มีศิลปะในการจูงใจเด็ก พูด และอานภาษาไทยไดชัดถอยชัดคํา มีความสามารถในการสอนแจกลูก

                       สะกดคําแปรผันเสียง และมีองคความรูเกี่ยวกับวิชาภาษาไทยตามสมควร มาชวยพัฒนานักเรียนใน
                       โครงการเปนการเฉพาะ (2) เพื่อคัดเลือกนักเรียนโดยการทดสอบดวยการเขียนตามคําบอก ซึ่งจะได
                       ทราบจํานวน และระดับปญหาของนักเรียนเพื่อที่จะแกปญหาไดตรงจุด (3) เพื่อใหผูปกครองรับทราบ
                       ความสามารถในการอาน เขียนภาษาไทย และแนวทางการพัฒนานักเรียน และใหความรวมมือในการ

                       จัดกิจกรรม (4) เพื่อพัฒนาทักษะในการอาน การเขียนภาษาไทย ใหกับนักเรียนในโครงการเปนราย
                       กลุม และรายบุคคล และ (5) เพื่อใหนักเรียนเห็นคุณคาในตนเอง เกิดความมั่นใจ สรางความ
                       ภาคภูมิใจใหตัวนักเรียน ทํากิจกรรมเพื่อประโยชนสวนรวม
                                     3) วัตถุประสงค และผลผลิตที่คาดวาจะไดรับจากโครงการ วัตถุประสงค ไดแก

                       (1) เพื่อพัฒนาทักษะการอาน การเขียนของนักเรียน (2) เพื่อสงเสริมนิสัยรักการอานของนักเรียน
                       และ (3) เพื่อสงเสริมใหผูปกครองมีสวนรวมในการพัฒนาทักษะการอานการเขียนภาษาไทยของ
                       นักเรียน โดยผลผลิตที่คาดวาจะไดรับจากโครงการ ไดแก (1) นักเรียนมีทักษะการอาน การเขียน
                       ภาษาไทย (2) นักเรียนมีนิสัยรักการอาน และ (3) ผูปกครองมีสวนรวม ตระหนัก และเห็นคุณคาของ

                       การอาน
   283   284   285   286   287   288   289   290   291   292   293