Page 287 - kpiebook65066
P. 287

215
































                       ภาพที่ 4.22 สรุปผลการดําเนินโครงการฟนฟูการเรียนถดถอยของนักเรียนศูนยพัฒนาเด็กเล็กสังกัด
                       เทศบาลนครพิษณุโลก


                              4.๔.๓ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (การพัฒนาทักษะในการอานการเขียน
                       ภาษาไทย) องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณ
                                     1) ปญหา ที่มาของปญหา และผลกระทบจากปญหา การอานออกเขียนได หรือ
                       การรูหนังสือ (Literacy) เปนคุณสมบัติพื้นฐานที่จําเปนตอการเรียนรูการสื่อสารในสังคมปจจุบัน เปน

                       บันไดขั้นแรกของการแสวงหาความรูอันมหาศาลในโลกนี้ และเปนการเชื่อมโยงการสื่อสารของผูคน
                       ตาง ๆ ในสังคมนี้เขาดวยกัน องคการยูเนสโกถือวาการรูหนังสือเปนประตูสูอิสรภาพของมนุษยชาติ
                       เพราะการรูหนังสือเปนการใหอิสรภาพแกผูคนทั้งหลาย เปนอิสรภาพจากความไมรู อิสารภาพจาก
                       ความยากจน อิสรภาพจากความเจ็บไขไดปวย เพียงเพราะคนเหลานั้นมีความรู สามารถอานออก

                       เขียนได แสดงใหเห็นวาเมื่อรูหนังสือ และมีโอกาสนําไปปฏิบัติแลวก็จะชวยใหสามารถดําเนินชีวิตได
                       อยางเสรี และมีชีวิตที่สมบูรณยิ่งขึ้น
                                     ประเทศไทยยังมีประเด็นปญหาคนไทยอานไมออกเขียนไมไดแมวาจะไดรับการ
                       ยอมรับวาเปนผูนําการรณรงคจัดการอานไมออกเขียนไมไดมาอยางตอเนื่อง แตจํานวนของคนที่อาน

                       ไมออกเขียนไมไดก็ยังคงมีอยู และเปนจํานวนมากพอสมควร ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานก็ยังพบวา
                       เด็กไทยอานไมออก เขียนไมไดยีงมีอยูเปนจํานวนมาก เชนเดียวกัน
                                     โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงสถานการณโรคติดตอไวรัสโควิด-19 ที่ผานมา นักเรียน

                       ไดรับการพัฒนาทักษะดานการอาน การเขียนภาษาไทยไมเต็มที่เนื่องจากมีการจัดการเรียนการสอน
                       ในรูปแบบออนไลน สงผลใหนักเรียนที่อานไมออกเขียนไมไดในระดับประถมศึกษาเพิ่มจํานวนขึ้น
                       นักเรียนกลุมดังกลาวไดศึกษาตอระดับมัธยมศึกษาจึงเปนกลุมนักเรียนที่อานไมคลองเขียนไมคลอง
                                     องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบูรณ ไดใหความสําคัญกับงานพัฒนาคุณภาพของ
                       นักเรียน จัดการศึกษาในระดับมัธยยมศึกษา ไดทําการประเมินการอานออกเขียนไดของนักเรียนที่

                       กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษา ในชวงอายุ 13-18 ป ของโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัด
   282   283   284   285   286   287   288   289   290   291   292