Page 67 - kpiebook65063
P. 67

จากคำนิยามข้างต้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรกลุ่มเปราะบางจึงไม่ใช่เรื่องใหม่

           สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หากแต่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลและพัฒนาคุณภาพ
           ชีวิตของประชากรกลุ่มนี้มาโดยตลอด และสามารถดำเนินงานด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิตได้ใน
     ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19   ในส่วนที่สอง ทั้งนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากร
           ระดับดีตามผลการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดังที่ได้กล่าวไปแล้ว


           กลุ่มเปราะบางในทุกมิติทั้งร่างกาย จิตใจ ความสัมพันธ์ทางสังคม และสิ่งแวดล้อม
                                                                                          12
           ตามที่กฎหมายกำหนด พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ
           ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

           ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรกลุ่มเปราะบางให้แก่
           องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลายประการ โดยมีรายละเอียดดังตาราง


           ตารางที่ 3-2: อำนาจหน้าที่ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                          อำนาจหน้าที่             อบจ.     กทม.   เมืองพัทยา  เทศบาล   อบต.

            - การสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิต
             เด็ก สตรีคนชรา และผู้ด้อยโอกาส                                  *ม.16   *ม.16
            - ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ     *ม.16   *ม.16   *ม.16   **ม.50   **ม.67
     ส่วนที่   ภารกิจที่ท้าทายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลังวิกฤตโควิด-19
             และผู้พิการ                           *ม.45    *ม.17           **ม.53
            - จัดให้มีการสังคมสงเคราะห์และการสาธารณูปการ                    **ม.56
            จัดตั้งและบำรุงโรงเรียนอาชีวศึกษา        -       -        -     **ม.54     -

            ให้มีและบำรุงสถานที่สำหรับการกีฬาและพลศึกษา   -   -       -     **ม.54   *ม.68
            การจัดการศึกษา                                  *ม.16                    *ม.16
                                                   *ม.17            *ม.16    *ม.16
                                                            *ม.17                    **ม.67
            การส่งเสริมกีฬา                                 *ม.16            *ม.16
                                                   *ม.17            *ม.16            *ม.16
                                                           **ม.89            *ม.50
               *  พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542






               12   องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต 4 ด้านตามองค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ได้แก่
           1) ด้านร่างกาย (physical domain) คือ การรับรู้สภาพทางด้านร่างกายของบุคคล ซึ่งมีผลต่อชีวิตประจำวัน 2) ด้านจิตใจ
           (psychological domain) คือ การรับรู้สภาพทางจิตใจของตนเอง 3) ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม (social relationships)
           คือ การรับรู้เรื่องความสัมพันธ์ของตนกับบุคคลอื่น การรับรู้ถึงการที่ได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นในสังคม การรับรู้
           ว่าตนได้เป็นผู้ให้ความช่วยเหลือบุคคลอื่นในสังคมด้วย รวมทั้งการรับรู้ในเรื่องอารมณ์ทางเพศ หรือการมีเพศสัมพันธ์
           และ 4) ด้านสิ่งแวดล้อม (environment) คือ การรับรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต (ข้อมูลจาก
           กรมสุขภาพจิต. เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย. [ออนไลน์] สืบค้นจากเว็บไซต์
           https://dmh.go.th/test/whoqol/ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2565.



               สถาบันพระปกเกล้า
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72