Page 387 - kpiebook65063
P. 387

จากปุยไปสู่ผลิตภัณฑ์อุปโภคบริโภครูปแบบต่าง ๆ จนนำไปสู่การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้และ

           ให้การอบรมแก่ชาวบ้านที่สนใจ ซึ่งกระบวนการนี้สะท้อนให้เห็นว่า ผู้บริหารองค์การบริหาร
           ส่วนตำบลนาพันสาม ภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ในพื้นที่ และชาวบ้าน ช่วยกันระดมความคิดเพื่อพัฒนา
     ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19   จนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนในที่สุด
           ท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องตลอดจนช่วยกันขยายเครือข่ายความร่วมมือออกไปสู่ระดับจังหวัดเพชรบุรี




                 ด้วยบทบาทการเป็นผู้นำท้องถิ่นที่มีวิสัยทัศน์บนพื้นฐานข้อมูลที่ถูกต้องผ่านกระบวนการ
           มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายอันหลากหลายและต่อเนื่อง ส่งผลให้ประชาชนในเขตตำบลนาพันสาม
           ให้ความไว้วางใจและยินดีให้ความร่วมมือกับทำงานขององค์การบริหารส่วนตำบลนาพันสาม

           ในระดับสูงมาโดยตลอดและร่วมมือกันแก้ไขปัญหาขยะจากเปลือกไข่เป็ดที่ครั้งหนึ่งไม่มีมูลค่า
           ทางเศรษฐกิจ ให้กลายเป็นสิ่งที่มีมูลค่าอย่างครบวงจรจนเป็นแหล่งรายได้เสริมอีกแหล่งหนึ่งให้แก่

           ครัวเรือน








     ส่วนที่   บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า: ท้องถิ่นกับบริการสาธารณะ









































               สถาบันพระปกเกล้า
   382   383   384   385   386   387   388   389   390   391   392