Page 183 - kpiebook65056
P. 183

182          ผู้  นร   รสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว                                                                                        183



                ท่านได้ตั้งหลวงประดิษฐ์ฯ เข้ามาเป นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแทน                                  “พระราชทรัพย์สินใด ๆ ที่เป็นพระราชมรดกไปยังผู้อื่น
                กับให้พระสารสาสน์ประพันธ์ ซ ่งเป นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงธรรมการ                            นอกจากผู้สืบราชสมบัติต้องเสียอากรมรดก นอกจากนั้นเป็น

                ข ้นเป นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ ส่วนตำาแหน่งรัฐมนตรีเศรษฐการ                             พระราชทรัพย์ฝ่ายพระมหากษัตริย์ ไม่ต้อง าษีอากรมรดก”
                ได้แต่งตั้งพระสารสาสน์พลขันธ์เข้ามาเป นรัฐมนตรีหน้าใหม่
                                                                                                              ในการประชุมพิจารณาเรื่องนี้ สมาชิกสภาฯ ที่มาจากการเลือกตั้ง
                        สภาผู้แทนราษฎรได้ป ดสมัยประชุมสามั ไปได้ 4 เดือน จ งมี                       ได้อภิปรายแสดงความเห็นกันหลายท่าน มีทั้งผู้ที่เห็นด้วยที่จะให้เติมเข้าไป
                พระราชก ษฎีกาเรียกประชุมสมัยประชุมวิสามั ในวันที่ 1 สิงหาคม                          เพราะไม่ได้เปลี่ยนแปลง ที่เห็นได้ชัดมี นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ ผู้แทนราษฎร
                พ.ศ. 2477 ดังนั้น สมัยสามั และวิสามั ของสภาจ งข้ามมาอยู่คนละป ป ิทิน                 จังหวัดอุบลราชธานี กับ นายพลโท พระยาเทพหัสดิน ผู้แทนราษฎรจังหวัด

                เมื่อประธานสภาผู้แทนราษฎรได้กล่าวเป ดประชุมแล้ว นายกรัฐมนตรี                         พระนคร แต่อีกหลายรายไม่อยากให้เติม โดยให้เหตุผลว่าในร่างกฎหมาย
                พระยาพหลฯ ได้กล่าวกับที่ประชุม มีความสำาคั ตอนหน ่งว่า    14                         ไม่ได้กำาหนดให้เก็บอยู่แล้ว ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้พิจารณาและมีมติ

                                                                                                     ลงคะแนนลับ ผลคือยืนยันตามร่างกฎหมายเดิมด้วยคะแนนเสียง 89 เสียง
                               “พระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่ส าผู้แทนราษฎรลงมติให้ประกาศ

                        ใช้เป็นกฎหมายนั้น ได้ประกาศแล้วทุก บับ เว้นแต่พระราชบัญญัติ                  ให้แก้ไข 35 เสียง โดยมีผู้ไม่ลงคะแนนเสียง 12 คน ซ ่งเป นรัฐมนตรีทั้งหมด
                        อากรมรดกกับการรับมรดก ซึ่งมิได้ทรงลงพระปรมา ิไธย ายใน                                 ดังนั้น นายกรัฐมนตรี จ งทูลเกล้าฯ ถวายร่างกฎหมาย เพื่อลง
                        ก�าหนดเวลาอันบัญญัติไว้ในรั ธรรมนูญ แต่หากได้ทรงพระกรุณา                     พระปรมาภิไธย พร้อมกับให้หม่อมเจ้าวรรณ ไวทยากร กราบบังคมทูล

                        โปรดเกล้า  พระราชทานมาให้ส าผู้แทนราษฎรพิจารณาใหม่                           ถวายรายงานว่าตามร่างพระราชบั  ัตินี้ ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
                        ตามความในรั ธรรมนูญ มาตรา   ”                                                ไม่ต้องเสียอากรมรดก ตรงกับพระราชประสงค์แล้ว ทั้งรัฐบาลรับจะไป

                                                                                                     ร่างกฎหมายยกเว้นอากรมรดกให้ชัดเจนข ้นในภายหลัง ต่อมาพระเจ้าอยู่หัว
                        นับเป นครั้งแรกที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงส่งร่างกฎหมาย                 ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยให้ประกาศใช้กฎหมายฉบับนี้ได้

                กลับมาให้สภาฯ พิจารณาใหม่ หรือทบทวน ดังนั้น เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2477                   ผ่านเรื่องกฎหมายมรดกมาได้ไม่กี่วัน รัฐบาลพระยาพหลฯ ได้
                ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 2 รัฐบาลจ งนำาร่างพระราชบั  ัติ                    เสนอร่างพระราชบั  ัติแก้ไขกฎหมาย เกี่ยวกับกฎหมายอา าเข้าสภาฯ

                อากรมรดกและการรับมรดก ที่ได้รับคืนจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว                      พร้อมกัน 3 ฉบับ ในวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2477 กฎหมายทั้ง 3 ฉบับนี้ ได้แก่
                มาพิจารณาใหม่ พระองค์มีพระราชประสงค์ให้เพิ่มข้อความลงไปในร่าง                        ร่างพระราชบั  ัติแก้ไขกฎหมายลักษณะอา า 1 ฉบับ ร่างพระราชบั  ัติ
                พระราชบั  ัติ เพื่อให้ชัดเจนว่าได้ยกเว้นการเก็บอากรมรดกจากทรัพย์สิน                  แก้ไขกฎหมายวิธีพิจารณาความอา า 1 ฉบับ และร่างพระราชบั  ัติแก้ไข

                พระมหากษัตริย์ ว่า    15                                                             ประมวลกฎหมายอา าทหารอีก 1 ฉบับ
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188