Page 187 - kpiebook65056
P. 187

186          ผู้  นร   รสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว                                                                                        187



                มาตั้งแต่เริ่มมีสภาฯ ชุดแรก หลังจากทาง  ายรัฐบาลโดยนายกรัฐมนตรี ได้แถลง              ที่รัฐบาลไม่ได้รับการให้สัตยาบันในการทำาสั  ากับต่างประเทศ จากสภาฯ
                เรื่องที่ขอยืนยัน ัตติใหม่ให้พิจารณา นายมังกร สามเสน สมาชิกประเภทที่ 2               การแพ้เสียงในเรื่องที่สำาคั  ที่รัฐบาลจะอยู่ต่อไปไม่ได้ด้วยเช่นนี้ทั้ง   ที่

                จากภาคเอกชนที่เป นทนายความ ได้อภิปรายสั้น   ยืนยันความไม่พอใจโดย                     มีสมาชิกสภาฯ ที่รัฐบาลแต่งตั้งอยู่ถ งคร ่งสภาฯ จำานวน 78 เสียง มากกว่า
                ไม่อธิบายเหตุผลอะไรมาก แต่ได้เรียกร้องเลยว่า    18                                   เสียงที่ไม่ให้สัตยาบันอยู่ 5 เสียง    19    จ งทำาให้คิดกันว่าน่าจะมีบุคคล
                                                                                                     ที่มีอิทธิพลทางการเมืองและทางทหารด้วย ต้องการให้รัฐบาลแพ้เสียง

                              “ ะนั้นขอให้ส า  นี้ อย่าได้รับหลักการ ในเรื่องที่จะอนุมัติ            และนายกรัฐมนตรีจะต้องลาออก
                        ให้ไปท�าสัตยาบันกับต่างประเทศ”
                                                                                                              การอภิปรายของนายมังกร สามเสน สมาชิกประเภทที่ 2 ซ ่งมาจาก

                                                                                                     การแต่งตั้ง ที่ได้ลุกข ้นมาอภิปรายสั้นมากแต่ชัดเจนตั้งแต่ตอนต้น ที่ขอ
                        สมาชิกสภาฯ อีกท่านหน ่ง ได้แก่พันตรี หลวงรณสิทธิ พิชัย สมาชิก                ให้สภาฯ ไม่ให้สัตยาบัน นับว่าเป นการแสดงให้เห็นอย่างชัดเจน ยิ่งต่อมา

                สภาฯ ประเภทที่ 2 ซ ่งเป นผู้ก่อการฯ   ายทหารบกสายหลวงพิบูลสงคราม                     นายพันตรี หลวงรณสิทธิ พิชัย นายทหารผู้ก่อการฯ ที่มีความสนิทเป นเพื่อนกับ
                ได้ลุกข ้นอภิปรายต่อจากหลวงวรนิตปรีชา ซ ่งได้วิงวอนขอให้สภาฯ ให้สัตยาบัน             หลวงพิบูลสงคราม ได้ลุกข ้นมาอภิปรายเล่นงานรัฐบาลอย่างรุนแรงในเรื่องนี้
                หลวงรณสิทธิ พิชัย ได้กล่าวอย่างยืดยาว อ้างความเดือดร้อนของราษฎร และ                  ถ งขนาดเรียกร้องให้สมาชิกฯ ไม่ให้สัตยาบัน ก็ยิ่งชัดเจนข ้นอีก คือ ไม่สนใจ

                ตอบหลวงวรนิติฯ ไปในตัวว่า                                                            ว่ารัฐบาลจะอยู่ได้หรือไม่ก็ตาม เสียงที่ไม่ให้สัตยาบันนั้นเกือบถ งก ่งหน ่งของ

                                                                                                     สมาชิกทั้งหมดของสภาที่มีอยู่ คือ 78 นาย แต่ปกติสมาชิกที่มาประชุมกัน
                              “ในป ญหาที่สมาชิกผู้หนึ่งว่า ถ้าหากส า  นี้ไม่อนุมัติ                  ก็ประมาณ 130 กว่าคนเท่านั้น ในวันนั้นมีสมาชิกมาประชุม 139 นาย แล้ว
                        สัตยาบัน รั บาลนี้จะลาออก ข้อนี้จะเป็นจริงหรือไม่อย่างไรนั้น                 ก็ทราบกันดีว่าสมาชิกสภาที่ไม่ได้มาประชุมส่วนมากคือสมาชิกสภาฯ

                        หาใช่หน้าที่ของส า  นี้จะพึงพิจารณาไม่   ะเพาะส า  นี้ไม่มี                  ประเภทที่ 2 ที่มาจากการแต่งตั้ง เพราะเป นข้าราชการประจำาที่มีงานต้องทำา
                        หนทางอื่นใดเลย นอกจากว่าจะไม่รับหลักการของรั บาล”                            อยู่ทุกวันในวันทำาการ ส่วนผู้ซ ่งมีอาชีพอิสระที่อยู่ในภาคเอกชนอย่าง

                                                                                                     นายมังกร สามเสน มีอยู่เพียงไม่กี่คน และพวกสมาชิกสภาประเภทที่ 2
                        เมื่อได้อภิปรายกันพอสมควรแล้วประธานสภาฯ จ งได้ขอให้                          ที่ไม่มาประชุมในวันนั้น น่าจะมีผู้ที่ตั้งใจไม่มา เพราะไม่อยากช่วยรัฐบาลก็ได้

                สมาชิกสภาลงมติโดยยกมือ ปราก ว่ามีผู้ไม่อนุมัติให้สัตยาบันจำานวน                      เพราะการประชุมในวันที่ 13 นั้นรู้ล่วงหน้าว่าจะมีการพิจารณาและลงมติ
                73 เสียง และมีผู้อนุมัติให้สัตยาบัน 25 เสียง เป นอันว่ารัฐบาลไม่ได้รับการให้         ในเรื่องการให้สัตยาบัน ซ ่งรัฐบาลต้องการเสียงสนับสนุน ทั้งหมดนี้เชื่อว่า

                สัตยาบันจากสภาฯ ในเรื่องสั  าจำากัดโควต้ายาง การที่สภาฯ ไม่ให้สัตยาบัน               พระยาพหลฯ น่าจะพอทราบได้ ด้วยเหตุนี้ ในวันรุ่งข ้นเมื่อสภาฯ ประชุม
                ในสั  าที่ทางรัฐบาลไปลงนามตกลงกับต่างประเทศ รัฐบาลก็จะอยู่ต่อไป                      หารือกันแล้ว ยังเลือกท่านให้กลับมาเป นนายกรัฐมนตรีอีก พระยาพหลฯ
                ไม่ได้ พระยาพหลฯ จ งได้ลาออกจากนายกรัฐมนตรีในคืนวันที่ 13 กันยายน                    จ งไม่ยอมรับเป นนายกรัฐมนตรีในทันที โดยให้สภาฯ ไปหาผู้อื่น

                พ.ศ. 2477 ในทันที นับเป นครั้งแรกที่รัฐบาลแพ้เสียงในสภาฯ และเป นครั้งแรก
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192