Page 23 - kpiebook65034
P. 23

22   ตัวชี้วัดหลักการมีส่วนร่วม



                   ส�าหรับบทบาทของประชาชนก็มีความส�าคัญ ดังนั้น ควร

          มีการพิจารณาอย่างรอบคอบและชัดเจนถึงบทบาทของประชาชน
          ในกระบวนการตัดสินใจ ตลอดจนเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิด
          ความเข้าใจและประชาชนสามารถที่จะประเมินการตัดสินใจได้ นอกจากนี้

          การเข้าถึงกระบวนการก็มีความส�าคัญเพื่อมั่นใจได้ว่าผู้มีส่วนได้เสีย
          สามารถเข้าถึงกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียม และเป็นธรรม

          ตลอดจนมีโอกาสในการมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจด้วย

                   การขาดการเคารพนับถือและค�านึงถึงศักดิ์ศรีของชุมชนต่างๆ
          จัดเป็นความเสี่ยงที่จะท�าให้เกิดความแตกแยกและแบ่งขั้ว นอกจากนี้

          การเกาะกระแสเพื่อกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมมีความส�าคัญ แต่การชี้น�า
          ไม่ควรเกิดขึ้น


                   การมีพันธะสัญญาถือว่าเป็นเรื่องที่ส�าคัญเพื่อมั่นใจว่าข้อตกลง
          ทั้งหมดที่ด�าเนินการไว้กับประชาชนซึ่งรวมถึงผู้ที่มีอ�านาจในการตัดสินใจ
          ด�าเนินการในลักษณะที่ยอมรับร่วมกัน อีกทั้งการสนับสนุนให้เกิด

          การด�าเนินการก็มีความส�าคัญ เพราะการให้ค�าแนะน�าผู้ที่ด�าเนินการ
          ด้านการมีส่วนร่วมใหม่จะเป็นประโยชน์อย่างมากในการจัดกระบวนการ

          และให้ความรู้กับผู้ที่ตัดสินใจรวมทั้งภาคประชาชนเกี่ยวกับค่านิยมและ
          การใช้กระบวนการมีส่วนร่วม


                   ล�าดับขั้นของการมีส่วนร่วมซึ่งออกแบบโดย สมาคมนานาชาติ
          ว่าด้วยการมีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อช่วยในการเลือกระดับของ
          การมีส่วนร่วมที่สามารถอธิบายบทบาทของประชาชนในกระบวนการ

          มีส่วนร่วมต่างๆ เช่นในกระบวนการวางแผนและตัดสินใจ รวมทั้ง
          อิทธิพลของชุมชนที่มีต่อกระบวนการวางแผน และตัดสินใจนั้นด้วยว่า

          มีมากน้อยเพียงใด ซึ่งเป็นการระบุระดับของการมีส่วนร่วมออกเป็น
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28