Page 121 - kpiebook65022
P. 121
3. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change)
4. ระบบนิเวศ (Ecosystems)
5. ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources)
6. เกษตรกรรม (Agriculture)
7. ภัยพิบัติทางธรรมชาติ (Natural Disasters)
8. ความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Justice)
9. ความยั่งยืน (Sustainability)
5.1.3.1 ผลจากการค้นคว้าเอกสารด้านการเมืองสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย โดยแยก
ตามประเด็นสิ่งแวดล้อม
จากการค้นคว้าเอกสารด้านการเมืองสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยจาก 3 ฐานข้อมูลดังกล่าว
พบว่า งานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้มีการศึกษาประเด็นสิ่งแวดล้อม 8 ด้านจากประเด็นสิ่งแวดล้อม 9 ด้าน ดังที่กล่าว
ข้างต้น โดยไม่มีการศึกษาในประเด็นของเกษตรกรรมและการเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ า แต่พบการศึกษา
ประเด็นอื่น ๆ เพิ่มเติม นอกเหนือจาก 8 ด้านดังกล่าว จึงใคร่ขอน าเสนอผลการศึกษา โดยเริ่มต้นจากประเด็น
สิ่งแวดล้อมที่มีการศึกษาวิจัยมากที่สุดไปน้อยที่สุดจาก 3 ฐานข้อมูล ตามล าดับ ดังภาพ 5.1 ดังนี้
ล าดับแรก ประเด็นความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Justice) จ านวน 12 เรื่อง
ล าดับที่สอง ประเด็นทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources) จ านวน 11 เรื่อง
ล าดับที่สาม ประเด็นมลพิษ (Pollution) จ านวน 8 เรื่อง
ล าดับที่สี่ ประเด็นอื่น ๆ (Others) จ านวน 6 เรื่อง
ล าดับที่ห้า ประเด็นความยั่งยืน (Sustainability) จ านวน 5 เรื่อง
ล าดับที่หก ประเด็นพลังงาน (Energy) จ านวน 3 เรื่อง
ล าดับสุดท้าย ประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) และ
ประเด็นภัยพิบัติทางธรรมชาติ (Natural Disasters) จ านวนประเด็นละ 1 เรื่อง
รวมทั้งสิ้น 47 เรื่อง
108