Page 47 - kpiebook65019
P. 47
46 ประเด็นส�ำคัญที่พึงมีและควรแก้ไขตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 :
สิทธิชุมชน ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม
แต่ก็ไม่สามารถที่จะผลักดันให้รัฐบาล หรือ รัฐสภาให้การรับรองที่จะเสนอเป็น
กฎหมายได้ อย่างไรก็ตาม ภายใต้การขยายความหมายของสิทธิชุมชนตามที่บัญญัติ
ไว้ในรัฐธรรมนูญโดยการตราเป็นพระราชบัญญัติ (แม้ความพยายามจะผลักดัน
ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวข้างต้นจะไม่ประสบความส�าเร็จ (ยกเว้นร่างพระราชบัญญัติ
ป่าชุมชน (ฉบับที่ 2) ที่เพิ่งจะประกาศใช้) แต่ก็มีพระราชบัญญัติอีกบางฉบับที่มีผล
เป็นการสนับสนุนหรือส่งเสริมขบวนสิทธิชุมชนในทางอ้อม เช่น
พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเมือง พ.ศ. 2551 (แต่ต่อมาถูกยกเลิก
โดยค�าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 71/2559 เรื่อง การยกเลิกกฎหมาย
ว่าด้วยสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยสภาพัฒนาการเมือง
และกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย)
พระราชก�าหนด การประมง พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติทรัพยากรน�้า พ.ศ. 2561 เป็นต้น
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของ
ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 45 ซึ่งรับรองสิทธิของชุมชนในการยื่นฟ้องคดี
15
ต่อศาล โดยไม่มีกำรก�ำหนดค�ำนิยำมว่ำ “ชุมชน” หมำยถึงอะไร ดังกรณี
15 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561
มาตรา 45 บุคคลหรือชุมชนซึ่งเป็นผู้ได้รับประโยชน์โดยตรงจากการท�าหน้าที่ของรัฐตาม
รัฐธรรมนูญ หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ และได้รับความเสียหายจากการไม่ปฏิบัติหน้าที่ของรัฐ หรือ
การปฏิบัติหน้าที่ไม่ถูกต้องครบถ้วนหรือล่าช้าเกินสมควร ย่อมมีสิทธิยื่นค�าร้องขอให้ศาลวินิจฉัย
คดีตามมาตรา 7(4) ได้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้