Page 35 - kpiebook63031
P. 35

การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562
           34       จังหวัดอุบลราชธานี







             5. ระยะเวลำท�ำกำรศึกษำ


                      ดำาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และเขียนสรุปผลรายงานการศึกษาวิจัย ช่วงระหว่าง

             วันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562






             6. ประโยชน์ที่ได้รับ


                      (1)   ทราบถึงบรรยากาศทั่วไป ความรู้ความเข้าใจ และความเคลื่อนไหวของประชาชน

                          คณะกรรมการเลือกตั้ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พรรคการเมืองและนักการเมืองในพื้นที่
                          องค์กรเอกชน องค์กรสาธารณะ และหน่วยงานภาครัฐ รวมถึงองค์กรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ

                          การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

                      (2)   ทราบถึงพฤติกรรมทางการเมืองของผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หน่วยงาน
                          ภาครัฐ บริษัทเอกชน องค์กรสาธารณะ และองค์กรอื่นๆ ที่เข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องกับ

                          การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

                      (3)   ทราบถึงแบบแผนพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนโดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง

                          สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

                      (4)   ทราบถึงทัศนคติ วัดความรู้สึก การตัดสินใจเลือกตั้งโดยการทำาแบบสำารวจการเลือกตั้ง
                          (Poll) เปรียบเทียบผลการสำารวจในช่วงก่อนการเลือกตั้ง กับผลคะแนนการเลือกตั้งจริง

                          วิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้น

                      (5)   ทราบถึงพฤติกรรมการใช้ทรัพยากรต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องค่าใช้จ่าย เพื่อให้เห็น
                          มูลค่าของการใช้จ่ายในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัด

                          อุบลราชธานี

                      (6)   ทราบถึงการตั้งมั่นของสถาบันพรรคการเมืองในสังคมไทย ในบริบทที่มีการเปลี่ยนแปลง
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40