Page 29 - kpiebook63031
P. 29

การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562
           28       จังหวัดอุบลราชธานี







             2. วัตถุประสงค์


                      1.  เพื่อศึกษาทัศนคติ วัดความรู้สึก แนวโน้มการตัดสินใจเลือกตั้งโดยการทำาแบบสำารวจ

                          การเลือกตั้ง (Poll) เปรียบเทียบผลการสำารวจในช่วงก่อนการเลือกตั้ง กับผลคะแนน
                          การเลือกตั้งจริง วิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้น


                      2.  เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ทรัพยากรต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องค่าใช้จ่าย เพื่อให้เห็น

                          มูลค่าของการใช้จ่ายในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัด
                          อุบลราชธานี


                      3.  เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของขั้วอำานาจทางการเมือง การย้ายพรรคการเมือง และผล
                          การเลือกตั้งที่เกิดขึ้น


                      4.  เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจทางการเมือง และผลกระทบการเลือกตั้งภายใต้

                          รัฐธรรมนูญใหม่ พ.ศ. 2560 จังหวัดอุบลราชธานี





             3. ขอบเขตของกำรศึกษำ



                      3.1 ขอบเขตด้ำนเวลำ


                      ขอบเขตด้านเวลาของการศึกษาประกอบไปด้วย การศึกษาตั้งแต่ช่วงก่อนการเลือกตั้ง ช่วงระหว่าง

             การมีพระราชกฤษฎีกากำาหนดให้มีการเลือกตั้ง วันเลือกตั้ง จนถึงประมาณ 6 เดือน ภายหลังจาก
             คณะกรรมการเลือกตั้งประกาศรับรองผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการในจังหวัดอุบลราชธานี


                      3.2 ขอบเขตประชำกร


                      ประชากรที่ทำาการศึกษาได้แก่ ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง หน่วยงานภาครัฐ บริษัทเอกชน องค์กร
             อิสระ องค์กรสาธารณะ สื่อมวลชน และองค์กรอื่นๆ ที่มีอิทธิพลในการเลือกตั้ง ทั้งในระดับประเทศและ

             ในระดับเขตจังหวัดอุบลราชธานี ตลอดจนความตื่นตัวสนใจ การเข้ามีส่วนร่วม และพฤติกรรมการเลือกตั้ง
             ของประชาชน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34