Page 85 - kpiebook63021
P. 85

แ น า ท        แสดง  ามต้องการขององ  กร ก รองส่ นท้อง ิ น นการสนับสนุน าก า รั

            รายงานสถานการณ์















            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น











                     ท  มา  วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 83-85.



                     7.  ข้อเสนอแนะ: ก้าวย่างต่อไปในอนาคต



                          การสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีข้อค้นพบที่สำคั
                     หลายประการและยังเป นสิ่งยืนยันได้ว่า การพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น
                     ยังมีความพร้อมในการพัฒนาที่ไม่มีความก้าวหน้ามากนัก อีกทั้งการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในบางมิติยังคงมี

                     ระดับความพร้อมในการพัฒนาที่ต่ำ หากแต่การพัฒนาเมืองได้กลายเป นสิ่งจำเป นที่จะต้องให้ความสำคั
                     อย่างมาก เพราะการอาศัยอยู่ในเมืองต่อไปในอนาคต เราอาจจะต้องเผชิ กับสถานการณ์วิกฤติอีกมากมาย

                     ไม่ว่าจะเป นโรคระบาด ภัยพิบัติทาง รรมชาติ รวมถ งสถานการณ์ระเบิดคนเมือง อันส่งผลให้เกิดปั หาต่าง
                     มากมาย ดังนั้นแล้วการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ หรือ S a t  it  จ งเป นทางออกสำหรับทุกภาคส่วนในสังคม
                     ที่จะต้องมาร่วมกันคิดและหาแนวทางส่งเสริมให้เกิดข ้นได้จริง ตลอดจนการจุดประกายให้องค์กรปกครอง

                     ส่วนท้องถิ่นเกิดทางออกในการพัฒนาเมืองได้อย่างมีประสิท ิภาพ

                             การ ั นา ม องอั  ริ    ร ริ มท  ท้อง ิ น   ทุกวันนี้การขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาเมือง
                     อัจฉริยะเริ่มต้นจากรัฐส่วนกลาง โดยรัฐเป นผู้กำหนดทิศทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับพื้นที่ ส่งผลให้

                     องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในฐานะผู้ดูแลรับผิดชอบพื้นที่ไม่สามารถขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะได้
                     อย่างมีประสิท ิภาพและประสิท ิผลมากนัก ดังสะท้อนให้เห นจากผลการสำรวจที่พบว่า องค์กรปกครอง

                     ส่วนท้องถิ่นได้ดำเนินการพัฒนาเมืองอัจฉริยะน้อยมาก อย่างไรก ตาม ผลการสำรวจยังแสดงให้เห นอีกว่า
                     มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวนหน ่งเท่านั้นที่ประสบความสำเร จในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ หากแต่
                     ความสำเร จของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะดังกล่าวเป นการริเริ่มโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเครือข่าย

                     ภาคประชาสังคมเพื่อแก้ไขปั หาในพื้นที่ของตน ดังนั้น ข้อเสนอแนะทางออกสำหรับการพัฒนาเมือง
                     อัจฉริยะต่อไปในอนาคตจะต้องวางยุท ศาสตร์การพัฒนาเมืองอย่างเป นระบบ ดังนี้




                 74   สถาบันพระปกเก ้า
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90