Page 80 - kpiebook63021
P. 80
ประเด นต่อมา เมื่อเรานำผลการสำรวจมิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แต่ละประเภทแล้วนั้น จ งได้นำข้อมูลการสำรวจมาเปรียบเทียบกันเพื่อดูว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละ
ประเภทมีความพร้อมในด้านใดมากที่สุด โดยพิจารณาจากความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะตามกรอบ
การวิเคราะห์ I t i t a ati at i ใน 4 มิติ ประกอบด้วย รายงานสถานการณ์
• ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน I a t ct at i
• ความพร้อมด้านการจัดการข้อมูล ata a a t at i
• ความพร้อมด้านนโยบายและการบริหารจัดการ a a t at i
• ความพร้อมด้านการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ N tw k at i
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละประเภทที่มีผลสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในแต่ละด้านนั้น
เมื่อนำข้อมูลดังกล่าวมาพล อตลงในตารางแมทริกซ์ ตามแผนภาพที่ 1-30 จะมีความพร้อมเป นอย่างไรบ้าง
การสำรวจพบว่า :
อง การบริหารส่ น ังห ัด ผลการสำรวจได้สะท้อนให้เห นว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด
มีความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานอยู่ในระดับสูง มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 87 ความพร้อมในระดับสูงรองลงมาคือ
ความพร้อมด้านการใช้เทคโนโลยีและความพร้อมด้านการบริหารจัดการภายใน ซ ่งมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 80
เท่ากัน ขณะที่ความพร้อมด้านการส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับความพร้อมด้านการจัดการข้อมูลนั้นมีค่าเฉลี่ย
อยู่ในระดับปานกลาง ซ ่งมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 67 และ 53 ตามลำดับ ดังนั้นแล้วสิ่งที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด
จะต้องพัฒนาและส่งเสริมให้มากข ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมภาคประชาชนและการพัฒนาระบบ ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข้อมูลทั้งภายในและภายนอกองค์กร
ข้อสังเกตประการหน ่ง พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนให ่มีลักษณะประชา ิปไตย
แบบตัวแทน หรือที่เราเรียกกันว่า p tati c ac ซ ่งการพัฒนาประชา ิปไตยลักษณะนี้
ในองค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้นค่อนข้างน้อยกว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทอื่น ส่วนหน ่งนั้น
เป นผลมาจากรูปแบบการทำงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่มีรูปแบบการพัฒนาท้องถิ่นในภาพรวม
ระดับจังหวัด จ งส่งผลให้การทำงานมีความใกล้ชิดกับประชาชนน้อยกว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภท
อื่น อีกทั้งอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาสนับสนุนและอำนวย
ความสะดวกในด้านโครงสร้างพื้นฐานให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทอื่น ซ ่งสอดคล้องกับ
ผลการสำรวจรายงานสถานการณ์การกระจายอำนาจว่าด้วยบทสำรวจความเป นประชา ิปไตยท้องถิ่น
ประจำปี 2561 ของสถาบันพระปกเกล้า ได้ชี้ให้เห นว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีผลสำรวจในมิติ
ความเป นสถาบันอยู่ในระดับสูง ขณะที่มิติการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้นกลับอยู่ในระดับต่ำ อรทัย ก๊กผล
และคณะ, 2562 ดังนั้นแล้วเหตุผลดังกล่าวนี้อาจเป นส่วนหน ่งที่สะท้อนผลการสำรวจออกมาว่า องค์การ
บริหารส่วนจังหวัดมีความพร้อมด้านการส่งเสริมการมีส่วนร่วมและความพร้อมด้านการจัดการข้อมูลอยู่ใน
เกณ ์ปานกลาง
ท บาลน ร ผลการสำรวจได้สะท้อนให้เห นว่า เทศบาลนครมีความพร้อมการพัฒนา
เมืองอัจฉริยะที่โดดเด่นมากในหลายมิติ ไม่ว่าจะเป นความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการใช้เทคโนโลยี
และด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีความพร้อมอยู่ในระดับสูง ซ ่งมีค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 93, 86 และ
สถาบันพระปกเก ้า 6