Page 75 - kpiebook63021
P. 75
นอกจากนี้ผลการสำรวจยังได้ชี้ให้เห นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดให ่ค่อนข้างมี
ความพร้อมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการศ กษามากกว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล ก
รายงานสถานการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทศบาลนครมีความโดดเด่นในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการศ กษาอยู่ในระดับ
ปานกลางค่อนข้างสูง มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 59.61 รองลงมาเป นองค์การบริหารส่วนจังหวัดและ
เทศบาลเมืองมีความพร้อมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับปานกลาง และมีคะแนนเฉลี่ยที่ใกล้เคียง
กันอยู่ที่ร้อยละ 49.72 และ 45.90 ตามลำดับ ขณะที่เทศบาลตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลนั้น
กลับพบว่ามีผลสำรวจความพร้อมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับต่ำ มีคะแนนเฉลี่ยเพียงร้อยละ
28.54 และ 24.69 เท่านั้น ผลการสำรวจดังกล่าวสามารถแสดงให้เห นดังแผนภาพต่อไปนี้
ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แ น า ท แสดง าม ร้อมการ ั นา ม องอั ริ ด้านการ ก า
ท มา วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 43-54.
ผลการสำรวจข้างต้นนี้ได้สะท้อนให้เห นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยยังคงเผชิ กับปั หา
ด้านการศ กษาอยู่อีกมาก สถานศ กษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดให ่มีความพร้อม
ในการพัฒนาด้านการศ กษามากกว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล ก ส่วนหน ่งนั้นเป นผลมาจากปัจจัย
หลายประการไม่ว่าจะเป นปั หาการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น งบประมาณที่ใช้ใน
การพัฒนาด้านการศ กษา ปั หาความยากจนและความเหลื่อมล้ำในพื้นที่ คุณภาพของสถานศ กษา รวมถ ง
วัฒน รรมการเรียนการสอนในสถานศ กษา สิ่งเหล่านี้ส่งผลต่อการพัฒนาด้านการศ กษาในระดับท้องถิ่น
ให้มีความพร้อมในการพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมด้านการศ กษาได้มากน้อยแตกต่างกันไป นอกจากนี้ยังรวม
ไปถ งการให้อำนาจหน้าที่ตามก หมายแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทที่มีอำนาจหน้าที่ใน
การจัดบริการสา ารณะด้านการศ กษาในระดับที่แตกต่างกัน เช่น เทศบาลสามารถจัดการศ กษาทั้งในระบบ-
นอกระบบ และการศ กษาตามอั ยาศัย ไม่ว่าจะเป นการจัดการศ กษาปฐมวัย อนุบาลศ กษา ประถมศ กษา
มั ยมศ กษา และอาชีวศ กษา ขณะที่องค์การบริหารส่วนตำบลมีความสามารถในการจัดการศ กษาในรูปแบบ
6 สถาบันพระปกเก ้า