Page 74 - kpiebook63021
P. 74

นอกจากนี้ยังมี  ท บาลตำบลท่าสา  อำ  อ ม อง  ังห ัด  ลา ที่ได้ดำเนินกิจกรรมแหล่งเรียนรู้
                        บ่อแก๊สชีวภาพ ซ ่งเป นหน ่งในโครงการท่าสาปโมเดลที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างเทศบาลตำบลท่าสาป
                        และมหาวิทยาลัยราชภั ยะลา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและส่งเสริมการพ ่งพาตนเอง

                        ในระดับชุมชนได้อย่างยั่งยืน โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาผลิตแก๊สชีวภาพจากมูลสัตว์ทดแทนการใช้  รายงานสถานการณ์
                        แก๊สหุงต้มในครัวเรือน เริ่มต้นจากการสร้างต้นแบบบ่อหมักแก๊สชีวภาพแบบถังลอยขนาด 1,000 ลิตร

                        สำหรับครอบครัวต้นแบบในการใช้แก๊สชีวภาพทดแทนแก๊สหุงต้มในครัวเรือน หลังจากนั้นเทศบาลตำบล
                        ท่าสาปได้มีการติดตามและขยายผลการจัดทำบ่อหมักแก๊สชีวภาพขยายออกไปใน 4 หมู่บ้าน จนทำให้มี
                        บ่อแก๊สชีวภาพมากถ ง 14 แห่งในชุมชน


                              จนกระทั่งเทศบาลตำบลท่าสาปได้รับการยกย่องให้เป นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนด้านการถ่ายทอด
                        เทคโนโลยีผลิตแก๊สชีวภาพ มีผู้ที่สนใจและหน่วยงานจำนวนมากเข้ามาดูงานและศ กษาแหล่งเรียนรู้ดังกล่าว

                        เทศบาลตำบลท่าสาปคาดว่า ผลพลอยได้สุดท้ายจากการดำเนินกิจกรรมแหล่งเรียนรู้นี้จะทำให้ชุมชน
                        สามารถลดรายจ่ายค่าไฟฟ าและค่าแก๊สหุงต้มในครัวเรือนได้มากกว่าคร ่งหน ่งของรายจ่ายเดิม ตลอดจนเกิด
                        เป นชุมชนต้นแบบด้านพลังงานที่สามารถพ ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน                                    ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น























                        ท  มา   ภาพประชาสัมพัน ์ จากเทศบาลตำบลท่าสาป http :// it.  /3    p





                          5.8   a t    cati

                                การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการศ กษา เป นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้

                        ในการจัดการศ กษาและพัฒนานวัตกรรมทางการศ กษา ไม่ว่าจะเป นห้องเรียนอัจฉริยะ    a t c a
                        การจัดทำแอพลิเคชั่นเพื่อการศ กษา การเรียนการสอนผ่านระบบอิเล กทรอนิกส์ เป นต้น ปัจจุบันก มี

                        สถานศ กษาจำนวนมากได้นำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการพัฒนาและจัดการศ กษาได้อย่างมีประสิท ิภาพ
                        มากข ้น หากแต่ผลการสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านการศ กษาควรจะ
                        เป นมิติที่ได้รับการพัฒนาและมีความพร้อมอยู่ในลำดับต้น  แต่กลับมีผลการสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ

                        ด้านการศ กษาที่ไม่ค่อยก้าวหน้ามากนัก โดยมีลำดับมิติการพัฒนาอยู่ในลำดับรองจากท้ายสุด หรือลำดับ
                        ที่แปดจากมิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะทั้งหมด






                                                                                                 สถาบันพระปกเก ้า   6
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79