Page 77 - kpiebook63021
P. 77

อง  การบริหารส่ น ังห ัดสุรา  ร  าน   ังห ัดสุรา  ร  าน  เป นแกนนำในการเชิ ชวนหน่วยงาน
                     ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม จัดตั้งสมัชชาการศ กษาจังหวัดสุราษ ร์ านีข ้นมา เพื่อพัฒนา
            รายงานสถานการณ์   คุณภาพการศ กษาและลดความเหลื่อมล้ำด้านการศ กษาในพื้นที่ ผ่านกิจกรรมจังหวัดป ิรูปการเรียนรู้ โดยมี


                     โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้    a  i    i a i it  -     เป นหน ่งใน
                     กิจกรรมจังหวัดป ิรูปการเรียนรู้ เพื่อสร้างโอกาสทางการศ กษาและพัฒนาผู้ที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้

                     ให้ได้รับสิท ิโอกาสในการเรียนรู้ที่เท่าเทียมกัน เริ่มจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดจะสรรหาโรงเรียนและ
                     สรรหาครูผู้สอนโดยการประเมินและคัดเลือกเพื่อป ิบัติหน้าที่ด้านการสอนผู้เรียนที่มีความบกพร่องทาง
                     การเรียนรู้ จากนั้นได้มีการส่งเสริมให้ครูจัดทำสื่อและนวัตกรรมที่มีคุณภาพใช้ประกอบการเรียนการสอน

            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                     และพัฒนารูปแบบการสอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนได้เป นอย่างดี














                     ท  มา   ภาพประชาสัมพัน ์กิจกรรม จากเว บไซต์องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษ ร์ านี http://www.   atpa .  .th/ a     /
                       tai /1345




                       5.9   a t    i it


                            การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการคมนาคมเป นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ใน
                     การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนสามารถเดินทางได้สะดวก รวดเร ว และปลอดภัย

                     มากข ้นตลอดจนรองรับและสนับสนุนการใช้ยานพาหนะที่ไม่ใช้พลังงานน้ำมัน ปัจจุบันนี้ได้มีหลายภาคส่วน
                     ดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับเมืองอัจฉริยะด้านการคมนาคม ไม่ว่าจะเป นการทำป ายรถเมล์อัจฉริยะ การให้

                     บริการข้อมูลสอบถามเส้นทางผ่านแอพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน และจักรยานไฟฟ า เป นต้น อย่างไรก ตาม
                     ผลสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกลับชี้ให้เห นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                     มีความพร้อมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการคมนาคมที่น้อยมาก โดยมีผลการสำรวจมิติการพัฒนาเมือง

                     อยู่ในลำดับท้ายสุดจากมิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะทั้งหมด

                            นอกจากนี้ผลการสำรวจยังชี้ให้เห นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนให ่มีความพร้อมใน
                     การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการคมนาคมที่ไม่ค่อยโดดเด่นมากนัก โดยเทศบาลนครและเทศบาลเมือง

                     มีความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำทั้งคู่ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ
                     42.47 และ 34.04 ขณะที่เทศบาลตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล และองค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น

                     มีความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับต่ำเท่านั้น ซ ่งมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 25.30, 24.16
                     และ 22.72 ตามลำดับ โดยผลการสำรวจดังกล่าวสามารถแสดงให้เห นดังแผนภาพต่อไปนี้






                 66   สถาบันพระปกเก ้า
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82