Page 83 - kpiebook63021
P. 83

6.  อุปสรรคในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของ

            รายงานสถานการณ์   นโยบายพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนโดยรัฐส่วนกลางเป นหลัก ผลที่ตามมาทำให้
                       องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


                          การสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้สะท้อนให้เห นการดำเนิน



                     การขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับท้องถิ่นมีน้อยมาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                     ส่วนให ่จ งไม่สามารถดำเนินนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะได้อย่างมีประสิท ิภาพ ทั้งที่โดยหลักการ

                     แล้วนั้นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรเป นหน่วยงานขับเคลื่อนหลักในการบริหารจัดการและพัฒนาเมือง
            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                     ในระดับพื้นที่ นอกจากนี้ยังพบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีข้อจำกัดหรือสภาพปั หาภายในองค์กร
                     ของตนเองอีกด้วย เช่น ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่มีนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ปั หา

                     ความไม่พร้อมของเทคโนโลยีในองค์กร ปั หางบประมาณที่ไม่เพียงพอ รวมถ งปั หาความไม่เพียงพอ
                     ของบุคลากรท้องถิ่นที่จะมาดำเนินงานนโยบายเมืองอัจฉริยะ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป นอุปสรรคสำคั อย่างยิ่ง

                     ในการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับท้องถิ่น

                          จากผลการสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้สะท้อนให้เห นอุปสรรค
                     ปั หาและความต้องการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สะท้อนถ งภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พบว่า


                          1 . องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนให ่มีอุปสรรคสำคั ในด้านงบประมาณที่จะใช้ในการพัฒนาเมือง
                     อัจฉริยะ ที่มีงบประมาณอยู่อย่างจำกัด ยิ่งไปกว่านั้นมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอีกจำนวนมากที่ระบุว่า

                     องค์กรของตนเองขาดแคลนงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ ซ ่งอุปสรรคในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของ
                     องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในด้านงบประมาณนั้น คิดเป นร้อยละ 49 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                     ทั้งหมดที่ตอบแบบสอบถาม


                          2 . องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอุปสรรคในด้านการขาดความรู้ด้านเทคโนโลยีที่จะมาใช้ใน
                     การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนหน ่งได้ระบุว่า องค์กรของตนยังไม่ได้รับ

                     การพัฒนาด้านเทคโนโลยีเท่าที่ควร ซ ่งมีสัดส่วนถ งร้อยละ 26 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด
                     ที่ตอบแบบสอบถาม

                          3 . องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประสบปั หาด้านการขาดแคลนบุคลากรที่จะมาดำเนินนโยบายเมือง

                     อัจฉริยะได้อย่างมีประสิท ิภาพ เนื่องจากภารกิจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกวันนี้มีหลากหลาย
                     ด้าน และในทุกด้านจำเป นจะต้องตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างทันท่วงที แต่องค์กรกลับมี

                     บุคลากรที่ไม่เพียงพอที่จะมาดำเนินภารกิจและตอบสนองความต้องการของประชาชนที่หลากหลายนั้นด้วย
                     ซ ่งผลการสำรวจมีสัดส่วนมากถ งร้อยละ 24 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดที่ตอบแบบสอบถาม


                          4 . องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวนหน ่งได้ระบุว่า ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ได้
                     มีนโยบายสนับสนุนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอย่างจริงจัง มีสัดส่วนจากผลการสำรวจเพียงร้อยละ 0.30
                     เท่านั้น









                  2   สถาบันพระปกเก ้า
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88