Page 86 - kpiebook63021
P. 86
รั ส่ นกลาง รัฐควรวางยุท ศาสตร์การพัฒนาเมืองอัจฉริยะโดยกระจายอำนาจการบริหาร
จัดการไปสู่ระดับพื้นที่ หรือที่เรียกว่า a- a p t เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ชุมชน และเครือข่ายภาคประชาสังคมในพื้นที่ร่วมกันกำหนดทิศทางและแนวทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ที่สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทในพื้นที่ของตน หรือใช้พื้นที่เป นตัวตั้ง ซ ่งจะนำไปสู่การตอบสนองต่อปั หา รายงานสถานการณ์
และความต้องการของประชาชนและชุมชนในพื้นที่ได้อย่างแท้จริง โดยรัฐส่วนกลางทำหน้าที่เป นผู้กำกับ
ควบคุมความเชื่อมโยงและความสอดคล้องของยุท ศาสตร์การพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับพื้นที่กับระดับ
ประเทศ และกำหนดมาตรฐานของเมืองอัจฉริยะในแต่ละด้าน เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการ
ตามมาตรฐาน ซ ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน นอกจากนี้รัฐจะต้องสนับสนุนการพัฒนา
ด้านโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป นแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ โดยเฉพาะการวางระบบเทคโนโลยี
ดิจิทัลและระบบเครือข่ายอินเตอร์เน ตในระดับพื้นที่อย่างทั่วถ งและมีประสิท ิภาพ นอกจากนี้รัฐส่วนกลาง
จะต้องให้คำแนะนำ ถ่ายทอดความรู้ และแนวทางการจัดการด้านเทคโนโลยีอย่างเป นระบบ ไม่ใช่ต่างคน
ต่างคิด ต่างคนต่างทำ แต่จะต้องบูรณาการการทำงานและระบบเทคโนโลยีที่เชื่อมโยงโครงข่ายเป นอันหน ่ง
อันเดียวกัน
อง กร ก รองส่ นท้อง ิ น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป นหน่วยงานที่รู้และเข้าใจปั หา
และความต้องการของประชาชนเพราะอยู่ใกล้ชิดกับประชาชนในพื้นที่มากที่สุด สามารถทำการวิเคราะห์
ศักยภาพหรือจุดแข ง/จุดอ่อนของพื้นที่ สามารถกำหนดความได้เปรียบ และสามารถกำหนดยุท ศาสตร์
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะของตนเพื่อให้เกิดผลสำเร จได้จริงในทางป ิบัติ ขณะเดียวกันรัฐสามารถ
เป นที่ปร กษาให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยกำกับความเชื่อมโยงและความสอดคล้องของยุท ศาสตร์ ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับพื้นที่กับระดับประเทศ และกำหนดมาตรฐานของเมืองอัจฉริยะในแต่ละ
ด้านเพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการตามมาตรฐาน ซ ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน
นอกจากนี้ รัฐควรให้การสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จากผลการสำรวจพบว่า องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นต้องการการสนับสนุนด้านงบประมาณมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านระบบเทคโนโลยีและ
การเสริมสร้างทักษะของบุคลากร
ดังนั้น การพัฒนาเมืองอัจฉริยะควรเริ่มต้นที่ท้องถิ่นเช่นเดียวกับการจัดบริการสา ารณะอื่น
อำนาจในการดำเนินภารกิจที่เกี่ยวกับการจัดบริการสา ารณะและการบริการประชาชนในรูปแบบต่าง
จำเป นต้องกระจายอำนาจออกไปยังหน่วยการปกครองที่อยู่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุดเป นลำดับแรก ซ ่งก คือ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เว้นแต่ว่าภารกิจดังกล่าวเกินศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก พ งให้
หน่วยการปกครองที่มีขนาดให ่และอยู่ใกล้ชิดลำดับถัดไปเป นผู้ดำเนินการแทน ขณะที่รัฐส่วนกลาง
พ งมีบทบาทในเชิงยุท ศาสตร์ระดับชาติ เป นผู้วางระบบก เกณ ์ และกำกับมาตรฐาน
ม องอั ริ รม ู้บริหาร ม องท อั ริ เรามักคิดว่าการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับ
ท้องถิ่นจะต้องเริ่มจากการจัดซื้อเทคโนโลยีที่ทันสมัย แต่แท้จริงแล้วนั้น การพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับ
ท้องถิ่นให้สำเร จได้จะต้องเริ่มจากผู้นำหรือผู้บริหารเมือง ซ ่งมีส่วนสำคั อย่างมากในการพัฒนาเมืองไปสู่
เป าหมายที่กำหนดไว้ การขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะให้เกิดข ้นได้อย่างเป นรูป รรมจะต้องอาศัยผู้บริหาร
ท้องถิ่นที่มีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอย่างชัดเจน เพื่อเป นแนวป ิบัติในการดำเนินงาน
สถาบันพระปกเก ้า 5