Page 88 - kpiebook63021
P. 88
ชอบ รรมในการตัดสินใจของรัฐและนำมาสู่ความไว้วางใจ อันเป นการสร้างฉันทามติร่วมกัน 4 สามารถ
ตอบสนองต่อปั หาและความต้องการของประชาชนได้ตรงจุดและตรงใจ 5 เป นการตรวจสอบถ่วงดุล
การทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทำให้เกิดความโปร่งใส 6 เป นการพัฒนาศักยภาพและ
ความเข้มแข งของประชาชนในการบริหารจัดการท้องถิ่นของตน และ 7 เป นการกระตุ้นให้ประชาชนสนใจ รายงานสถานการณ์
ชุมชนท้องถิ่นของตนหรือสนใจประเด นสา ารณะและลงมือป ิบัติเพื่อแก้ไขปั หาหรือพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
ของตน ซ ่งเป นการส่งเสริมให้เกิดสำน กพลเมืองทั้งในลักษณะพลเมืองตื่นรู้ c iti และ
พลเมืองที่กระตือรือร้นลงมือป ิบัติ cti iti และนำไปสู่ความรู้ส กเป นเจ้าของ
การเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะควรมีลักษณะการเข้าร่วมอย่าง
ครบวงจรตั้งแต่ต้นจนถ งสิ้นสุดกระบวนการ ดังนี้ 1 เริ่มต้นตั้งแต่การเกิดจิตสำน กในตนเองและถือเป น
หน้าที่ของตนในฐานะที่เป นส่วนหน ่งของสังคม ชุมชน ท้องถิ่นที่ตนอยู่อาศัย 2 ร่วมคิดถ งปั หา
ความต้องการ หรือประเด นการพัฒนา สาเหตุ วิ ีการแก้ไขปั หา และการจัดลำดับความสำคั ของปั หา
หรือประเด นการพัฒนา 3 ร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน โดยวางแผนการแบ่งงาน ระยะเวลาในการดำเนินงาน
และการจัดหาทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินงาน 4 ร่วมดำเนินงาน ประชาชนเข้าร่วมดำเนินงานด้วย
ความเต มใจและเต มกำลังตามความรู้ความสามารถของตนเอง 5 ร่วมกันติดตามประเมินผล มีช่องทางให้
ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบถ งปั หาอุปสรรคและร่วมกันในการแก้ไขปั หา เพื่อให้การดำเนินงาน
สำเร จตามเป าหมาย 6 ร่วมรับผลประโยชน์ ประชาชนที่เข้ามามีส่วนร่วมย่อมที่จะได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน
ซ ่งไม่จำเป นต้องอยู่ในรูปของเงิน วัตถุสิ่งของ แต่อาจเป นความสุขหรือความพ งพอใจในความเป นอยู่ที่ดีข ้น
หรือการมีคุณภาพชีวิตที่ดีข ้น การให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมครบถ้วนทุกกระบวนการในการพัฒนาเมือง ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อัจฉริยะย่อมทำให้เกิดการมีส่วนร่วมที่มีความหมาย a i a ticipati นำไปสู่การพัฒนาเมือง
อัจฉริยะอย่างยั่งยืน
ร่ง ั นา ม องอั ริ ด้านการ ก า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอำนาจใน
การจัดการศ กษา ซ ่งบั ัติอยู่ในมาตรา 16 9 และมาตรา 17 6 แห่งพระราชบั ัติกำหนดแผนและ
ขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และก หมายจัดตั้งองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นที่บั ัติอำนาจหน้าที่ด้านการจัดการศ กษาให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลตำบล
องค์การบริหารส่วนตำบล และกรุงเทพมหานคร สำหรับเทศบาลตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
ก หมายบั ัติให้เป นหน้าที่ที่ต้องทำ จ งกล่าวได้ว่า หากนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 เป นต้นมา องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นได้จัดทำภารกิจการจัดการศ กษามาเป นระยะเวลานานกว่า 20 ปี และปัจจุบันองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นหลายแห่งมีสถานศ กษาในสังกัดของตน อย่างไรก ตามจากการสำรวจครั้งนี้ พบว่า คะแนน
อัจฉริยะภาพด้านการศ กษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกลุ่มตัวอย่างยังอยู่ในระดับต่ำ กล่าวคือมีคะแนน
เพียงร้อยละ 27.56 เท่านั้น นับเป นคะแนนอับดับรองสุดท้ายจากทั้งหมด 9 อันดับ แสดงให้เห นว่า องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่มีความพร้อมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการศ กษามากนัก
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ งควรตระหนักถ งความสำคั ในการเตรียมความพร้อมสำหรับ
การพัฒนาเมืองสู่การเป นเมืองอัจฉริยะด้านการศ กษา เพราะการจัดการศ กษาเป นหน้าที่ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบลที่ก หมายบั ัติให้เป นหน้าที่
ที่ต้องทำ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังเป นหุ้นส่วนสำคั ของรัฐบาลตามแผนป ิรูปประเทศ
สถาบันพระปกเก ้า 77