Page 87 - kpiebook63021
P. 87

สำหรับวิสัยทัศน์ที่ก้าวหน้าของผู้นำมักเกิดจากพฤติกรรมที่สั่งสมหลายประการด้วยกัน ได้แก่
                     1  การมีความรอบรู้และรู้เท่าทัน กล่าวคือ รู้บริบทในพื้นที่ของตนเป นอย่างดี เข้าใจสภาพปั หา/
            รายงานสถานการณ์   ความต้องการของประชาชนอย่างถ่องแท้ และรอบรู้เหตุการณ์หรือสถานการณ์ทั้งในระดับโลก ระดับ


                     ประเทศ และระดับพื้นที่ที่จะส่งผลกระทบต่อเมืองของตน 2  การแสวงหาความรู้และประสบการณ์ใหม่
                     จากตัวบุคคล องค์กร หรือหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกประเทศ 3  ความสามารถในการประยุกต์ใช้

                     โดยนำองค์ความรู้ใหม่ ประสบการณ์ใหม่ หรือภูมิปั  าที่มีอยู่ในพื้นที่มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
                     4  การให้ความสนใจกับสิ่งที่เกิดข ้นโดยไม่คาดคิด โดยมีมุมมองว่า สิ่งนั้นอาจเป นประโยชน์ หรือการมี
                     ความสามารถในการพลิกวิกฤตเป นโอกาส 5  การรู้จักจัดลำดับความสำคั ของประเด นปั หาหรือประเด น

            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                     การพัฒนาเมือง 6  การรับฟังความคิดเห นของผู้ป ิบัติ 7  การเรียนรู้ความผิดพลาดและนำมาเป นบทเรียน
                     ในการพัฒนาปรับปรุงเมือง 8  ความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ การคาดการณ์แนวโน้มและ

                     ผลกระทบของเหตุการณ์ที่จะเกิดข ้นในอนาคต และนำมาหาโอกาสใหม่  ในการพัฒนาเมือง 9  การตัดสินใจ
                     ที่อยู่บนหลักการของความเป นเหตุเป นผล 10  ความสามารถในการประสานงานและสร้างความร่วมมือ
                     ภายนอกองค์กรเพื่อผลประโยชน์ระยะยาว และ 11  ความกล้าที่จะเปลี่ยนแปลง หรือทดลองสิ่งใหม่ แม้ยัง

                     ไม่รู้ว่าจะเกิดผลลัพ ์ที่ดีหรือไม่

                            นอกจากการมีวิสัยทัศน์ที่ก้าวหน้าแล้ว ผู้บริหารท้องถิ่นควรมีภาวะผู้นำเพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำ

                     วิสัยทัศน์และยุท ศาสตร์ของตนไปสู่การป ิบัติ ภาวะผู้นำที่จำเป น ได้แก่ 1  ความสามารถในการสื่อสาร
                     สาระสำคั ให้ผู้อื่นเข้าใจ 2  ความสามารถในการสร้างความร่วมมือภายในองค์กร และ 3  ความสามารถ
                     ในการกระตุ้นหรือผลักดันให้ทุกคนทำงานให้บรรลุเป าหมาย จ งกล่าวได้ว่า การขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะ

                     ย่อมต้องมีผู้บริหารเมืองที่อัจฉริยะด้วยเช่นเดียวกัน

                              ร ชาชน น าน   ้าของ ม อง  ร ข้า  ง  ง ท  น ล  อ ่าง ท่า ท  ม   หากรัฐขับเคลื่อน

                     นโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะโดยย ดพื้นที่เป นตัวตั้งและกระจายอำนาจการบริหารจัดการไปสู่ระดับพื้นที่
                         a- a          p   t  การพัฒนาเมืองอัจฉริยะจะประสบผลสำเร จได้ย่อมต้องอาศัยความร่วมมือ

                     ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานรัฐ หน่วยงานเอกชน ชุมชน และประชาชน อย่างไรก ตาม
                     การขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะให้ประสบผลสำเร จหรือเกิดข ้นอย่างเป นรูป รรมคงยังมิใช่เป าหมายสูงสุด
                     ถ้าตราบใดที่รัฐมุ่งพัฒนาเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าและทันสมัย แต่ประชาชนเข้าไม่ถ งเทคโนโลยี ไม่มีอินเตอร์เน ต

                     ใช้ ท้ายที่สุดแล้วก ไม่อาจพัฒนาให้เกิดเมืองอัจฉริยะได้อย่างสำเร จ ดังนั้นการพัฒนาเมืองอัจฉริยะให้เกิดข ้น
                     อย่างยั่งยืน ประชาชนในฐานะเจ้าของเมืองจะต้องเข้าถ งเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างทั่วถ งและเท่าเทียมกัน


                            นอกจากนี้หน่วยงานภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรเปิดโอกาสและส่งเสริม
                     ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะอย่างเต มที่ในทุกกระบวนการ ทั้งการร่วมคิด
                     ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมติดตามประเมินผล ร่วมรับผลประโยชน์และร่วมรับผิดชอบ สุดท้ายแล้ว

                     ย่อมจะส่งผลให้ประชาชนรู้ส กเป นเจ้าของเมืองอัจฉริยะในที่สุด เพราะการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชน
                     ในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะก่อให้เกิดการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่ยั่งยืนเนื่องด้วยเหตุผลหลายประการ ได้แก่

                     1  เป นการเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจ ทำให้การตัดสินใจรอบคอบมากข ้น เพราะมีโอกาสรับฟังข้อมูลและ
                     ความคิดเห นที่หลากหลาย 2  เป นการลดความขัดแย้งระหว่างการป ิบัติ เพราะการมีส่วนร่วมของ
                     ประชาชนทำให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลที่เพียงพอ มีความเข้าใจ และยอมรับการตัดสินใจร่วมกัน 3  เกิดความ




                  6   สถาบันพระปกเก ้า
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92