Page 148 - kpiebook63019
P. 148
143
รัฐสภานานาชาติของกลุ่มอาชีพนักวิชาการ/ภาคประชาสังคม/สื่อมวลชน/อาชีพอิสระอื่น ๆ ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย
ทั้งสองด้านนี้ในภาพรวมส่วน ค่าเฉลี่ยด้านขีดความสามารถในการมีส่วนร่วมด้านนโยบายระหว่างประเทศ
ของรัฐสภาของกลุ่มอาชีพนักการเมือง/อดีตนักการเมือง และกลุ่มอาชีพนักวิชาการ/ภาคประชาสังคม/
สื่อมวลชน/อาชีพอิสระอื่น ๆ ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยด้านนี้ในภาพรวม สรุปผลได้ดังตาราง 4-2
ตาราง 4-24 ค่าเฉลี่ยของผลการประเมินรัฐสภา ด้านการมีส่วนร่วมในนโยบายระหว่างประเทศ จำแนก
ผู้ประเมินตามกลุ่มอาชีพ
ข้าราชการ/อดีตข้าราชการ/เจ้าหน้าที่ นักวิชาการ/ภาคประชาสังคม/
นักการเมือง/อดีตนักการเมือง
องค์กรอิสระ สื่อมวลชน/อาชีพอิสระอื่น ๆ
องค์ประกอบย่อย
ค่าเฉลี่ย S.D. จำนวนผู้ตอบ ค่าเฉลี่ย S.D. จำนวนผู้ตอบ ค่าเฉลี่ย S.D. จำนวนผู้ตอบ
I1 2.94 0.85 17 2.81 1.08 29 2.86 0.99 37
I2 2.53 1.07 17 2.79 1.13 28 2.86 1.16 37
I3 2.87 0.77 18 2.87 0.96 25 2.80 1.15 34
I4 2.03 1.03 15 2.55 1.05 21 2.70 1.05 27
I5 3.21 0.95 17 3.26 0.9 25 3.06 0.95 32
I6 3.02 0.82 16 3.27 2.27 25 3.12 0.99 28
I7 2.83 0.77 15 2.57 1.11 29 2.68 1.15 30
I 2.75 0.71 19 2.82 0.91 30 2.66 0.95 44
4.2.6.4 ผลการประเมินรัฐสภา ด้านการมีส่วนร่วมในนโยบายระหว่างประเทศ จำแนกตาม
กลุ่มอายุ
หากพิจารณาผลการประเมินตามกลุ่มอายุ พบว่า ผลการดำเนินงานของ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ด้านการมีส่วนร่วมในนโยบายระหว่างประเทศ ในกลุ่มอายุน้อยกว่า 51 ปี
มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด โดยมีการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.80, S.D. = 0.95) ในขณะที่
กลุ่มอายุมากกว่า 60 ปีมีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด โดยมีการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.65,
S.D. = 0.94)
นอกจากนี้ มีข้อสังเกตว่า ค่าเฉลี่ยด้านการได้มาข้อมูลและการมีส่วนร่วม
ในนโยบายระหว่างประเทศระดับทวิภาคีและพหุภาคี และค่าเฉลี่ยด้านการสร้างความร่วมมือระหว่าง
รัฐสภาไทยกับรัฐสภานานาชาติ ของกลุ่มอายุน้อยกว่า 51 ปี และกลุ่มอายุ 51-60 ปี ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย
ทั้งสองด้านนี้ในภาพรวม ค่าเฉลี่ยด้านการมีส่วนร่วมในการสร้างพันธะด้านกฎหมายและการเงินในเวที
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)