Page 63 - kpiebook63012
P. 63

63































                          การศึกษา/วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ทั้งหมดเพื่อได้ข้อมูลที่

                  สามารถนำามาวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา โดยให้ความสำาคัญทั้งข้อมูลบริบท สถานการณ์ทางการเมือง
                  การปกครอง ประชาชน ภาคประชาชน กลุ่มทางการเมือง ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง


                          โดยมีกระบวนการในการศึกษาตามระเบียบการวิจัย ดังนี้

                          1. การดำาเนินการวิจัย

                          2. กลุ่มประชากร ขนาดตัวอย่างและวิธีการคัดเลือกตัวอย่างในการวิจัย

                          3. เครื่องมือในการวิจัย

                          4. ขอบเขตของการวิจัย


                          5. การวิเคราะห์ข้อมูล




                  3.1 กำรด�ำเนินกำรวิจัย




                          วิธีการเก็บข้อมูล ดำาเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือ 2 แบบ ได้แก่


                           1)  การวิจัยเอกสาร ซึ่งเป็นการเน้นการเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง โดยข้อมูลต่าง ๆ อาจอยู่ใน
                                รูปแบบสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ ประกาศ เอกสาร หรือการรายงานข้อมูลของราชการ หนังสือพิมพ์
                                เป็นต้น หรือรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น สื่อออนไลน์ โซเซียลมีเดียต่าง ๆ เป็นต้น ทั้งนี้

                                ในการพิจารณาข้อมูลจะพิจารณาโดยอาศัยคำาสำาคัญที่ได้ถูกกำาหนดไว้เบื้องต้น

                           2)  การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) การสัมภาษณ์เชิงลึก

                                (Deep interview) กลุ่มตัวอย่างเพื่อเก็บข้อมูลเชิงลึก ทั้งนี้ จะอาศัยการสุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้
                                ความน่าจะเป็น แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling)
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68