Page 90 - kpiebook63011
P. 90
90 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดเชียงใหม่
จากตาราง 4.4 พบว่า จำานวนผู้สมัคร ส.ส.ของจังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งวันที่ 24 มีนาคม 2562
ทั้งหมด 300 คน มีผู้สมัครเพศหญิงจำานวน 73 คนคิดเป็นร้อยละ 24.33 และจากเขตเลือกตั้งทั้ง 9 เขตนั้น
จำานวนผู้สมัครผู้หญิงในเขต 1 ซึ่งเป็นเขตอำาเภอเมืองมีจำานวนมากที่สุด และเป็นเขตเดียวที่คะแนนของผู้สมัคร
ผู้หญิงรวมกันทั้งหมดจะมีคะแนนสูงกว่าคะแนนเสียงที่มีการลงคะแนนเลือกผู้สมัครผู้ชาย แต่หากมองในภาพรวม
จากการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
แผนภาพ 4.4 แผนภาพแสดงค่าร้อยละการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้แก่
ผู้สมัครแบ่งตามคะแนนของเพศ จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้ง 24 มีนาคม พ.ศ. 2562
แผนภาพ 4.4 แผนภาพแสดงค่าร้อยละการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้แก่ผู้สมัคร
แบ่งตามคะแนนของเพศ จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้ง 24 มีนาคม พ.ศ. 2562
ร้อยละของการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งให้กับผู้สมัครผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่
ในการเลือกตั้ง 24 มีนาคม พ.ศ. 2562
จ านวนผู้มาใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนน 1,086,305 คน
บัตรเสีย 6% ไม่ประสงค์ลงคะแนน1%
เลือกผู้สมัครหญิง 24%
เลือกผู้สมัครชาย 69%
เลือกผู้สมัครชาย เลือกผู้สมัครหญิง บัตรเสีย ไม่ประสงค์ลงคะแนน
ที่มา จากการประมวลผลการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและจัดทำแผนภาพโดยผู้วิจัย
ที่มา จากการประมวลผลการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและจัดทำาแผนภาพโดยผู้วิจัย
จากแผนภาพที่ 4.4 จะเห็นว่าผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกว่าร้อยละ 70 ลงคะแนนให้ผู้สมัคร
ผู้ชาย ซึ่งจากกการสัมภาษณ์ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งผู้วิจัยพบนัยยะสำคัญคือ ยิ่งมีพื้นที่ห่างออกไปจาก
เขตเมืองมากเท่าไร ยิ่งมีจำนวนผู้สมัครผู้หญิงน้อยลง และสัดส่วนการลงคะแนนเสียงให้ผู้สมัครหญิงเมื่อ
เปรียบเทียบกับผู้สมัครผู้ชายน้องลง สอดคล้องกับข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่เชื่อว่าโอกาสใน
จากแผนภาพที่ 4.4 จะเห็นว่า ผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกว่าร้อยละ 70 ลงคะแนนให้ผู้สมัครผู้ชาย
การเข้าถึงสื่อและการศึกษามีส่วนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมการลงคะแนนเสียง
ซึ่งจากกการสัมภาษณ์ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งผู้วิจัยพบนัยยะสำาคัญคือ ยิ่งมีพื้นที่ห่างออกไปจากเขตเมือง
เลือกตั้ง
มากเท่าไร ยิ่งมีจำานวนผู้สมัครผู้หญิงน้อยลง และสัดส่วนการลงคะแนนเสียงให้ผู้สมัครหญิงเมื่อเปรียบเทียบกับ
ผู้สมัครผู้ชายน้องลง สอดคล้องกับข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่เชื่อว่าโอกาสในการเข้าถึงสื่อและ
การศึกษามีส่วนสำาคัญในการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
67