Page 18 - 30423_Fulltext
P. 18

12



                       ก ากับดูแลและส่งเสริมกีฬาอาชีพ โดยพบว่ายังมีปัญหาเกี่ยวกับค านิยามค าว่า นักกีฬาอาชีพซึ่งไม่

                       สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงและก่อให้เกิดปัญหาในการบังคับใช้กฎหมาย ปัญหาองค์กรก ากับ
                       ดูแล ปัญหาสัญญาเกี่ยวกับกีฬาอาชีพ และปัญหากระบวนการระงับข้อพิพาทเกี่ยวกับกีฬาอาชีพ ที่ยัง

                       ขาดความเหมาะสมกับบริบทของการกีฬาส่วนแนวทางการพัฒนากฎหมายก ากับดูแลกีฬาอาชีพควรมี

                       การแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามนักกีฬาอาชีพ ให้หมายถึง ผู้รับค่าจ้างจากสมาคมกีฬาอาชีพหรือสโมสร
                       กีฬาอาชีพก าหนดมาตรฐานรูปแบบของสัญญาจ้างให้ชัดเจน มีองค์กรหรือหน่วยงานระงับข้อพิพาท

                       อันเกิดจากกีฬาอาชีพ และจัดตั้งสภากีฬาอาชีพให้เป็นผู้มีหน้าที่ก ากับและส่งเสริมกีฬาอาชีพมีฐานะ

                       เป็นนิติบุคคล อยู่ในก ากับของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬานอกจากนี้ แนวทางการพัฒนา
                       กฎหมายส่งเสริมกีฬาอาชีพ สามารถท าได้โดยการแก้ไขเพิ่มเติมอ านาจหน้าที่กองทุนส่งเสริมกีฬา

                       อาชีพ เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับสวัสดิการนักกีฬาอาชีพและบุคลากรกีฬาอาชีพเพื่อจูงใจและพัฒนากีฬา

                       อาชีพ พร้อมทั้งแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายให้เอื้อต่อการสนับสนุนกีฬาอาชีพขององค์กรเอกชนและองค์กร
                       ปกครองส่วนท้องถิ่นอีกด้วย
                                             10

                               ในประเด็นกฎหมายการคุ้มครองนักกีฬาอาชีพของไทย มีผู้วิจัยเข้าไปศึกษาประเป็นดังกล่าว
                       แล้วพบว่าอาชีพ “นักกีฬา” ยังไม่เป็นที่รับรู้และยอมรับอย่างแพร่หลายถึงความเป็นอาชีพของกลุ่ม

                       บุคคลดังกล่าว ส่งผลให้นักกีฬาอาชีพขาดความชัดเจนทั้งในเรื่องสถานะ และสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย

                       โดยเฉพาะในกรณีที่มีการท าสัญญาจ้างท างานระหว่างผู้ประกอบธุรกิจด้านกีฬากับนักกีฬานั้น จะมี
                       ปัญหาเป็นอย่างมากว่าคู่สัญญามีนิติสัมพันธ์กันในรูปแบบใด สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาอะไรระหว่าง

                       สัญญาจ้างแรงงานและสัญญาจ้างท าของ อีกทั้งในวงการกีฬาอาชีพของประเทศไทยนั้น ยังไม่มีการ

                       ยอมรับอย่างชัดเจนว่านักกีฬาอาชีพเป็นผู้ประกอบอาชีพในลักษณะวิชาชีพที่ควรจะได้รับความ
                       คุ้มครองตามกฎหมายแรงงานแต่อย่างใด ดังนั้นจึงพบปัญหาทางกฎหมายส าคัญ 2 ประการคือ

                       ประการที่ 1 ปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการไม่ยอมรับถึงนิติสัมพันธ์ตามสัญญาจ้างแรงงานของนักกีฬา

                       อาชีพและผู้ประกอบธุรกิจด้านกีฬาจากการศึกษาพบว่าปัญหานี้ส่วนมากจะเกิดขึ้นเนื่องจากการที่
                       นายจ้างหรือผู้ประกอบธุรกิจด้านกีฬาไม่รู้หรือไม่ต้องการที่จะมีภาระหน้าที่ตามกฎหมายแรงงาน อีก

                       ทั้งนักกีฬาหรือลูกจ้างก็ไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานะที่แท้จริงและสิทธิหน้าที่ของตนตาม

                       กฎหมายแรงงาน จึงไม่ท าการเรียกร้องสิทธิที่ตนพึงได้รับตามกฎหมายแต่อย่างใด ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง
                       ค่าตอบแทนในการท างาน องค์กรที่คุ้มครองลูกจ้าง การได้รับความคุ้มครองเมื่อประสบอันตรายหรือ

                       บาดเจ็บตามกฎหมายประกันสังคมและกฎหมายเงินทดแทน การเลิกจ้างและการจ่ายค่าชดเชย

                       รวมถึงการเรียกร้องในกรณีที่เกิดการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม เป็นต้น ประการที่ 2 ปัญหาที่เกิดขึ้น
                       เนื่องจากกฎหมายของไทยในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นกฎหมายแรงงานหรือกฎหมายอื่นใด ไม่เหมาะสมที่

                       จะน ามาใช้ในการคุ้มครองลูกจ้างซึ่งเป็นนักกีฬาอาชีพจากการศึกษาสภาพทางข้อเท็จจริงในด้านการ


                       10  เบญจวรรณ ธรรมรัตน์, “การพัฒนากฎหมายก ากับดูแลและส่งเสริมกีฬาอาชีพ” (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎี
                       บัณฑิต, สาขานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง, 2559).
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23