Page 17 - 30422_Fulltext
P. 17
| 8
ไปจากการอ่านเนื้อหาข่าวออนไลน์ นอกจากนี้ ในด้านการเรียนรู้เรื่องการเมืองและประชาธิปไตย มีรายการ
พอดแคสต์ในต่างประเทศที่น าเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการเมืองโดยเฉพาะเพื่อให้คนที่สนใจในประเด็นการเมือง
ภายในและระหว่างประเทศได้รับฟัง เช่น รายการพอดแคสต์ที่จัดท าขึ้นในสหราชอาณาจักร Politics Weekly
โดย The Guardian, FT UK Politics โดย The Financial Times, รายการพอดแคสต์ที่จัดท าขึ้นในประเทศ
สหรัฐอเมริกา The New Yorker Politics and More, Inside Politics โดย CNN, So That Happened โดย
HuffPost Politics, Power House Politics โดย ABC News ฯลฯ
ในส่วนของภาษาไทย มีรายการพอดแคสต์ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเมือง ได้แก่ รายการ The Power
Game ในเครือ The Standard ด าเนินรายการโดย สรกล อดุลยานนท์ ร่วมกับคอนเทนต์ครีเอเตอร์
1
The Standard , รายการภายใต้พอดแคสต์ The Progressive Podcast ด าเนินรายการโดย ปิยบุตร แสงกนกกุล,
พรรณิการ์ วานิช และผู้ด าเนินรายการท่านอื่น, รายการ What Happened to the 5 Tiger? โดยพรรค
th
เพื่อไทย, รายการเกียกกายกอสซิป, พูดทั้งโลก, Back for The Future, เด็กสร้างชาติ และเลียบค่าย โดย TPD
Podcast ซึ่งย่อมาจาก Thailand Political Database, รายการ Countdown โดยศาสตราจารย์เกียรติคุณ
ดร.ธเนศวร์ เจริญเมือง และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนินทร เพ็ญสูตร, และรายการ Democracy X Innovations
โดยส านักนวัตกรรมการเมืองเพื่อประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า ร่วมกับ Infinity Podcast
ในส่วนของรายการที่มีความเกี่ยวข้องกับการเมืองและยังมีความเกี่ยวข้องกับประเด็นอื่น ๆ อาทิเช่น
เศรษฐกิจ สังคม สถานการณ์ปัจจุบัน ฯลฯ ได้แก่ รายการ The Topics Podcast ด าเนินรายการโดยวิญญู
วงศ์สุรวัฒน์, รายการ Sondhi Talk ด าเนินรายการโดยสนธิ ลิ้มทองกุล, รายการ Suthichai Podcast
ด าเนินรายการโดย สุทธิชัย หยุ่น, รายการคุยรอบทิศ ด าเนินรายการโดย สุทธิชัย หยุ่น, วีระ ธีรภัทร และวิสุทธิ์
คมวัชรพงศ์, พอดแคสต์ The101.world, รายการฟังหูไว้หู โดย KOOHOO Podcast, รายการ Good Monday
พอดแคสต์ส่วนตัวของอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และรายการ มาเถอะจะคุย ด าเนินรายการโดย
จอมขวัญ หลาวเพ็ชร์
ในกรณีของประเทศไทย ยังไม่มีงานวิจัยโดยตรงทางด้านพอดแคสต์กับการเมือง หากแต่เป็นงานวิจัย
พอดแคสต์ในด้านนิเทศศาสตร์และด้านการศึกษา เช่น บทความเรื่อง ผลการเรียนรู้ด้วยพอดแคสต์เพื่อส่งเสริม
ทักษะการสื่อสารภาษามลายู ส าหรับนักศึกษาปริญญาตรี โดย มูห าหมัด สาแลบิง และกัลยาณี เจริญช่าง
(2560), การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลของผู้ฟังรายการพอดแคสต์ โดย ปวรรัตน์ ระเวง และพนม คลี่ฉายา (2561),
แนวทางการผลิตรายการกระจายเสียงผ่านรูปแบบรายการพอดแคสต์ในประเทศไทย โดย อาลี ปรียากร และ
กุลทิพย์ ศาสตระรุจิ (2561), พอดแคสต์ สื่อทางเลือกใหม่: กรณีศึกษาเปรียบเทียบระหว่างสหรัฐอเมริกา
1 คอนเทนต์ครีเอเตอร์ เป็นชื่อต าแหน่งที่ผู้ด าเนินรายการแนะน าตัว