Page 59 - kpib28626
P. 59
ร่างกาย ผู้พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ผู้พิการทางสติปัญญา ผู้พิการทางการ
เรียนรู้ ผู้พิการทางออทิสติก ผู้พิการซ�้าซ้อน การจดทะเบียนผู้พิการเชิงรุกเพื่อให้
ได้สวัสดิการตามสิทธิจากภาครัฐ การสืบและการค้นหาผู้พิการที่ยังไม่ได้
จดทะเบียนภายในต�าบลเขาพระงาม
3. ท�าการจัดระบบบริการสุขภาพพื้นฐาน คือ การที่เครือข่ายด�าเนินการตรวจเยี่ยม
ดูแลและช่วยเหลือทางร่างกายและจิตใจของผู้พิการแต่ละประเภท การให้ความรู้
เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะรวมทั้งค�าแนะน�าสภาพแวดล้อมบ้านของผู้พิการ
4. การเปิดพื้นที่สาธารณะหรือพื้นที่สังคม (Public and Social Space) คือ
การพาเด็กและเยาวชนที่มีจิตอาสาท�ากิจกรรมร่วมกับผู้พิการ เช่น การเล่านิทาน
ให้ผู้พิการฟัง 2-3 ครั้งต่อเดือน ประธานชมรมผู้พิการในฐานะเจ้าของวัลลภา
ตัวอย่าง บริบทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ฟาร์มระดมทุนเปิดพื้นที่ท�ากิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพให้แก่ผู้พิการคนอื่น ๆ
5. การจัดสวัสดิการ (Welfare) คือการจัดหา อุปกรณ์ การให้บริการรถพยาบาล
ฉุกเฉิน เพื่ออ�านวยความสะดวกในการเดินทางไปโรงพยาบาลในพื้นที่
6. การปรับสภาพแวดล้อมและความปลอดภัย (Environment and Safety) คือ
การสร้างห้องน�้า ทางเดินขึ้นอาคาร การจัดสิ่งอ�านวยความสะดวกให้เวลาติดต่อ
ราชการ
7. การพัฒนาศักยภาพและเสริมพลัง (Strengthening and Empowerment)
คือ การจัดฝึกอบรม ผู้พิการด้านอาชีพ ด้านคุณธรรม การให้โรงเรียนสอนอาชีพ
มาฝึกอาชีพให้แก่ผู้พิการในแต่ละด้าน เป็นต้น การสร้างเครือข่ายในการฟื้นฟู
ผู้พิการ การจ้างงานผู้พิการ รวมถึงการพัฒนาศักยภาพด้านสติปัญญาผ่าน
กระบือบ�าบัด อาชาการบ�าบัด
กระบวนการท�างานร่วมกับเครือข่ายด�าเนินงานภายใต้หลัก LINK โดย
1. เทศบาลต�าบลเขาพระงามท�าหน้าที่เป็นแกนน�าศูนย์กลางของเครือข่าย ด�าเนินงาน
ให้เครือข่ายได้มาพบปะพูดคุย ปรึกษาหารือทั้งรูปแบบการประชุม ทั้งทางการ
และไม่เป็นทางการ สร้างการสื่อสารร่วมกันไปพร้อมกับการท�าความเข้าใจเรื่อง
ผู้พิการแต่ละประเภท รวมทั้งขอความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาสังคมในการจัดท�าโครงการพื้นที่คนพิการมีความสุข
หน้า 58