Page 114 - 22665_Fulltext
P. 114

97


                       การเกษตรทั้งสิ้น 1,650 ไร่ พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ ๆ คือ ข้าว มันส าปะหลัง ยางพารา แตงโม ผลไม้อื่น

                       ๆ เช่น เงาะ ทุเรียน มังคุด ฯ การเมืองการปกครอง ในอดีต เคยมีประเด็นการร้องเรียนผู้ใหญ่บ้านแล้ว

                       ให้พักการปฏิบัติงาน แต่ปัจจุบันสามารถท างานร่วมกันได้เป็นอย่างดีประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาเขมร
                       มีประเพณีที่ส าคัญ ได้แก่ สาร์ทเขมร (ประเพณีเซนโดนตา) ปัญหาด้านสังคม เกี่ยวข้องกับการศึกษา

                       น้อย ประชากรย้ายถิ่นการตัดไม้ท าลายป่า การใช้สารเคมี ปัญหาเศรษฐกิจ เกี่ยวข้องกับความยากจน
                       มีหนี้สิน งบประมาณด้านการพัฒนาที่ได้รับจากองค์การบริหารส่วนต าบลบักดอง จะเกี่ยวข้องกับ

                       โครงการก่อสร้างรั้วและปักแนวเขตที่สาธารณะป่าชุมชน ปรับปรุงถนนดินพร้อมลงหินคลุก ก่อสร้าง

                       ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก โครงการรณรงค์เด็กไทยใส่ หมวกกันน็อก โครงการเฝ้าระวังป้องกัน และ
                       ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ในศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก ม.15  ผลงานส าคัญใน

                       ด้านอาชีพ กลุ่มผลิตภัณฑ์โครงการปราชญ์ชาวบ้านผลิตภัณฑ์กลุ่มจักสานหวายหมู่บ้านทับทิมสยาม
                       07

                                  2) บ้านหน้าทับ อยู่ในต าบลท่าศาลา ต าบลดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับสายน้ าและการ

                       ค้าขายทางน้ ากับเมืองต่าง ๆ ต าบลท่าศาลามีวิสัยทัศน์ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต มียุทธศาสตร์การ
                       พัฒนาเพื่อคุณภาพชีวิตหลากหลายด้าน ทั้งด้านการเมือง สังคม และสิ่งแวดล้อม สภาพพื้นที่เป็นที่

                       ราบชายฝั่งทะเลเป็นหาดทรายสลับกับป่าชายเลน จ านวนหมู่บ้าน มี 15 หมู่บ้าน (แสดงจ านวน
                       หมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนต าบล) จ านวนประชากร ประชากรทั้งสิ้น 28,700 คน เพศหญิงกับ

                       ชายใกลเคียงกัน แยกเป็น ชาย 14,272 คน หญิง 14,428 คน  โรงเรียนในต าบลท่าศาลมีทั้งโรงเรียน
                       ระดับประถมศึกษา โรงเรียนสอนศาสนา โรงเรียนมัธยมศึกษาศึกษาและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัย

                       เรียน มีมัสยิด และบาลาย จ านวน  27 แห่ง วัด 3 แห่ง และโบสถ์คริสต์ 1 แห่ง

                                  ด้านเศรษฐกิจ ประชาชนประกอบอาชีพการประมงเป็นส่วนใหญ่ มีปศุสัตว์กับ การท า
                       นาเป็นส่วนน้อย ต าบลท่าศาลาเป็นต าบลที่ตั้งของศูนย์ราชการอ าเภอท่าศาลาและหน่วยงาน

                       รัฐวิสาหกิจส าคัญๆ เป็นจ านวนมาก จึงมีลักษณะเป็นพื้นที่ชุมชนเมือง กลุ่มอาชีพ ต าบลท่าศาลา  มี

                       การจัดตั้งกลุ่มอาชีพ  ในปี 2548 – 2555 จ านวน 48 กลุ่ม  การจัดตั้งกลุ่มมีจ านวนมาก  โดยมี
                       วัตถุประสงค์ตรงกันหลายกลุ่ม  ท าให้กลุ่มขาดความเข้มแข็ง  กลุ่มมีระยะเวลาด าเนินการให้บรรลุตาม

                       วัตถุประสงค์ในระยะสั้น  จึงสลายตัวเร็วและจัดตั้งกลุ่มใหม่ไปเรื่อย ๆ ทั้งนี้มีเพียงบางกลุ่มเท่านั้นที่
                       สามารถบริหารจัดการกลุ่มได้อย่างเข้มแข็ง สภาพปัญหา จากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของอบต.ท่า

                       ศาลา ปี 2556-2560 ระบุสภาพปัญหาไว้หลายด้าน ดังนี้ ปัญหาด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม
                       จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น  ปัญหาด้านสาธารณสุข ปัญหาด้านคุณภาพชีวิตและความ

                       เข้มแข็งของชุมชน ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค และ ปัญหาด้านการเมืองการ

                       บริหาร ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในต าบลมีแหล่งน้ าธรรมชาติและแหล่งน้ าที่
                       สร้างขึ้น และโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ ด้านประเพณี มีการรักษาประเพณีศิลปวัฒนธรรม องค์การ
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119