Page 51 - kpi22408
P. 51

50



                       ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า นอกจากพระมหากษัตริย์ทรงมีสถานะ
              เป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้แล้ว ก็ยังทรงมีสถานะอยู่เหนือ
              การเมืองอีกด้วย



              3.2 พระราชอ�านาจของพระมหากษัตริย์ในการปกครอง

              ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น

              ประมุข

                       ในส่วนของพระราชอำานาจของพระมหากษัตริย์นั้น ถ้าหาก

              พิจารณาถึงรัฐธรรมนูญตั้งแต่กระบวนการร่าง จนถึงบทบัญญัติที่กำาหนด
              พระราชอำานาจให้แก่พระมหากษัตริย์ในรัฐธรรมนูญแล้ว จะเห็นได้ว่า
              มีทั้งส่วนของพระราชอำานาจในการสถาปนารัฐธรรมนูญ ซี่งเป็นพระราช

              อำานาจเกี่ยวกับการก่อให้เกิดรัฐธรรมนูญเอง และบทบัญญัติที่บัญญัติ
              ถึงพระราชอำานาจในรัฐธรรมนูญ โดยมีทั้งพระราชอำานาจที่รัฐธรรมนูญ

              กำาหนดให้เป็นพระราชอำานาจของพระมหากษัตริย์เป็นการเฉพาะ และ
              สามารถทรงใช้อำานาจดังกล่าวในการตัดสินใจได้ตามพระราชอัธยาศัย
              และพระราชอำานาจที่เกี่ยวกับการใช้อำานาจขององค์กรทางการเมือง

              (ฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ) ดังนี้



              3.2.1 พระราชอ�านาจที่เกี่ยวกับการก่อให้เกิดรัฐธรรมนูญ

                       แม้จะเป็นที่ถกเถียงกันในการยกร่างรัฐธรรมนูญหลายฉบับว่า

              แท้จริงแล้วนั้น อำานาจสถาปนารัฐธรรมนูญไทยเป็นขององค์กรใดกันแน่
              และพระมหากษัตริย์เองทรงมีส่วนในการเป็นเจ้าของอำานาจสถาปนา







                                                                     7/2/2565 BE   16:08
         inside_�������������.indd   50
         inside_�������������.indd   50                              7/2/2565 BE   16:08
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56