Page 96 - 22385_Fulltext
P. 96

การศึกษาการบังคับใช้                     การศึกษาการบังคับใช้
 พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย   พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย



 คำวินิจฉัยของคณะกรรมการ วลพ. มีสถานะเพียง “กึ่งสภาพบังคับ”   อนึ่ง โดยกลไกของกฎหมายและลักษณะการทำงานแบบราชการ
 เท่านั้น และในบางกรณีนอกจากไม่ปฏิบัติตามแล้วหน่วยงานผู้ถูกสั่งการนั้น   ที่ทำให้ต้องมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนตำแหน่งและบุคลากร ก่อให้เกิด

 ยังยื่นฟ้องต่อศาลปกครอง ขอให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการ   ปัญหาในแง่ของความต่อเนื่องในการทำงาน และไม่สามารถสร้าง
 วลพ. ด้วย ทั้งนี้ จนถึงปัจจุบันคณะกรรมการ วลพ. ถูกฟ้องคดีต่อ    ความเชี่ยวชาญให้กับฝ่ายผู้บังคับใช้กฎหมายได้ ทั้งนี้ ทั้งในระดับของ

 ศาลปกครองแล้วทั้งสิ้น 4 คดี จากคำวินิจฉัย 4 คำร้อง โดยศาลปกครอง  คณะกรรมการ และพนักงานเจ้าหน้าที่ประจำ ซึ่งไม่น่าจะเป็นผลดีนักต่อ
 46
 ยังมิได้มีคำวินิจฉัยใด ๆ ออกมา  ซึ่งผู้ศึกษาเห็นว่าคำวินิจฉัยของ    การบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้ ซึ่งเป็นเรื่องค่อนข้างเฉพาะทางและมีประเด็น
 ศาลปกครองในคดีเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่ง ทั้งต่อแนวทางการทำงาน  ละเอียดอ่อนที่เรียกร้องความรู้ความเชี่ยวชาญไม่เฉพาะแต่ด้านกฎหมาย
 ของคณะกรรมการ วลพ. ในอนาคตเอง และต่อความสามารถในการบรรลุ  เท่านั้น แต่หมายถึงหลักความเสมอภาค เท่าเทียม และประเด็นในเรื่องเพศด้วย

 ถึงซึ่งเจตนารมรณ์ของกฎหมายฉบับนี้ด้วย
                       8.3  กองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ
   8.2.5 ภาระงานของคณะกรรมการ วลพ. หนักเกินไป ทั้งในแง่    จากประสบการณ์การทำงานของผู้ให้สัมภาษณ์แต่ละกลุ่ม
 ของเนื้อหาการทำงาน (พิจารณาคำร้อง แสวงหาข้อเท็จจริง สืบพยาน     ผู้ศึกษาพบว่ายังมีมุมมองต่อการบริหารจัดการการใช้เงินกองทุนส่งเสริม

 ทำคำวินิจฉัย และรายงานผล) และในแง่ของกรอบเวลาในการทำงาน     ความเท่าเทียมระหว่างเพศ รวมทั้งสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน
 จึงไม่สมดุลกับค่าตอบแทนและเวลาที่คณะกรรมการซึ่งส่วนใหญ่เป็น    ซึ่งอาจสรุปข้อสังเกตจากกลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ ได้ดังนี้

 ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีงานประจำของตนเองอยู่แล้วต้องทุ่มเทให้ ประเด็นนี้
 ถูกสะท้อนจากนักวิชาการผู้ให้สัมภาษณ์ซึ่งแม้ไม่ได้เป็นคณะกรรมการ     8.3.1 แม้โดยผลของ พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฯ ทำให้รัฐออก
 วลพ. แต่เห็นว่าเป็นอุปสรรคและปัญหาประการหนึ่งด้วย เนื่องจาก    อนุบัญญัติหลายฉบับเพื่อกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการร้องขอค่าชดเชย
                                                              47
 หากตัวกลไกการทำงานเอง (อาศัยการนัดหมายและการประชุมเป็นครั้ง ๆ ไป)   เยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการถูกเลือกปฏิบัติ  ซึ่งมีเนื้อหาค่อนข้าง
 และค่าตอบแทน (เบี้ยประชุม) ไม่เอื้อต่อการทำงาน ย่อมกระทบกับ
                              ประกาศกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว เรื่อง กำหนดแบบคำขอรับ
                           47
 ประสิทธิภาพและความรวดเร็วในพิจารณาและวินิจฉัยคำร้อง รวมทั้งส่งผล     การชดเชยและเยียวยา พ.ศ. 2559, ประกาศกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว เรื่อง
 ต่อจำนวนบุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถที่พร้อมและอยากเข้ามาทำงาน   หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นคำขอรับการชดเชยและเยียวยาแทนผู้เสียหาย พ.ศ. 2559,
                     ระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ
    46   ดู สรุปคำร้องที่เป็นเหตุแห่งการฟ้องคณะกรรมการ วลพ. ต่อศาลปกครอง  และจำนวนเงินในการชดเชยและเยียวยาผู้เสียหาย พ.ศ. 2559 และระเบียบ
 ในรายงานศึกษาฉบับนี้ บทที่ 4 หัวข้อที่ 2 “การฟ้องคดีต่อศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง   คณะกรรมการส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ ว่าด้วยการพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงิน
 การร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดิน หรือต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ    ชดเชยและการเยียวยาแก่ผู้เสียหาย เนื่องจากการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม
 เกี่ยวกับกฎหมายฉบับนี้”   ระหว่างเพศ พ.ศ. 2559



 80  สถาบันพระปกเกล้า                                             สถาบันพระปกเกล้า   81
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101