Page 45 - 22385_Fulltext
P. 45

การศึกษาการบังคับใช้                                                                การศึกษาการบังคับใช้
                     พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย      พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย



                  เพื่อความปลอดภัยของผู้หญิงเอง การลดเงินเดือนหรือไล่ออกด้วยเหตุผล                       ฉบับที่ 75 (พ.ศ. 2555) และกำหนดให้ใช้คำว่า “ภาวะเพศสภาพไม่ตรง
                  เรื่องตั้งครรภ์หรือลาคลอดแต่ภายใต้ข้ออ้างเรื่องปริมาณพนักงานที่มีมาก                   กับเพศกำเนิด” (Gender Identity Disorder) แทนคำว่า “โรคจิตถาวร”

                  เกินไป หรือผลการทำงานไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เป็นต้น ซึ่งปัญหา                          ในเอกสาร สด.43 เนื่องจากเป็นคำที่ส่งผลกระทบต่อสถานะของบุคคล
                  เหล่านี้หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องอาจจำเป็นต้องพิจารณาทบทวนว่าจะทำให้                    ทำให้บุคคลนั้นเป็นเสมือนผู้ไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อ

                  การรับรู้และความเข้าใจที่มีต่อ พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฯ ถูกต้องและ                         การสมัครงาน รวมถึงอาจทำให้ไม่สามารถทำนิติกรรมได้ กรณีที่สองคือ
                  กว้างขวางยิ่งขึ้นได้อย่างไร หรือในที่สุดแล้วกฎหมายฉบับนี้ยังจำเป็นต่อ                  ข้อผ่อนคลายที่ให้สิทธิกับบุคคลที่มีความกำกวมทางเพศแต่กำเนิด
                  ผู้หญิงและผู้ชายอยู่อีกหรือไม่ หากยังจำเป็นอยู่ยังขาดกลไกใดที่จะช่วย                   (Intersex) สามารถยื่นคำร้องพร้อมใบรับรองแพทย์ขอเปลี่ยนคำนำหน้านาม
                  ทำให้ พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฯ สามารถคุ้มครองบุคคลทุกเพศทุกวัย                             ได้หากต้องการเปลี่ยนเพศจากเดิมที่เคยแจ้งไว้เมื่อตอนจดทะเบียนเกิด

                  ได้อย่างแท้จริงสมตามเจตนารมณ์                                                          แต่แน่นอนว่าจนถึงปัจจุบันรัฐไทยยังไม่ให้สิทธิดังกล่าวกับบุคคลที่ไม่มีเพศ
                                                                                                         กำกวมแต่กำเนิด แต่ได้มีการผ่าตัดแปลงเพศแล้ว (Transgender)
                    4.2  ข้อเท็จจริงและสถานการณ์สิทธิของกลุ่มผู้มี
                  ความหลากหลายทางเพศก่อนและหลังบังคับใช้                                                         หากพิจารณาสถานการณ์ก่อนปี พ.ศ. 2558 จากงานวิจัยเรื่อง

                  พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฯ                                                                   อัตลักษณ์และวิถีทางเพศในประเทศไทยที่ศึกษาไว้โดยบุษกร สุริยสาร
                                                                                                         ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานแรงงานระหว่างประเทศ (International
                          ในส่วนของสถานการณ์ที่เกี่ยวกับสิทธิของผู้มีความหลากหลาย                        Labor Organization)  จะพบว่า มีการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลที่มี
                                                                                                                              18
                  ทางเพศ (lesbian, gay, bisexual, transgender, queer รวมทั้ง                             ความหลากหลายทางเพศในตลาดแรงงานตลอดวงจรการทำงาน ตั้งแต่
                  intersex - LGBTQI) นั้น อาจกล่าวได้ว่าความก้าวหน้าในการคุ้มครอง                        การปฏิเสธการรับเข้าทำงาน ไม่ได้รับการฝึกอบรม ไม่ได้รับการเลื่อน
                  สิทธิของบุคคลกลุ่มนี้ที่สำคัญ ๆ ก่อนปี พ.ศ. 2558 มีเพียงสองกรณี                        ตำแหน่ง ไปจนถึงการเลิกจ้างอย่างไร้เหตุผล หรือด้วยเหตุเพียงเพราะ

                  เท่านั้น กรณีแรกคือ การปรับเปลี่ยนกฎระเบียบเกี่ยวกับการบันทึก                          บุคคลนั้นมีวิถีและอัตลักษณ์ทางเพศที่แตกต่างออกไป และการเลือก
                  ผลการตรวจเลือกทหารกองเกิน (เอกสาร สด. 43) สำหรับบุคคลที่มี                             ปฏิบัติในลักษณะเดียวกันนี้ยังคงปรากฏอยู่เช่นเดิมแม้ พ.ร.บ.
                  ความหลากหลายทางเพศ โดยผลของคำวินิจฉัยศาลปกครองกลางเมื่อ                                ความเท่าเทียมฯ มีผลใช้บังคับแล้ว โดยสะท้อนจากรายงานวิจัยของ

                                       17
                  วันที่ 13 กันยายน 2554  ซึ่งนำไปสู่การแก้ไขกฎกระทรวงกลาโหม

                                                                                                               18   บุษกร สุริยสาร, อัตลักษณ์และวิถีทางเพศในประเทศไทย, กรุงเทพฯ:
                         17   ดู คำพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ 1550/2554, สืบค้น               องค์การแรงงานระหว่างประเทศ ประจำประเทศไทย กัมพูชา และสาธารณรัฐ
                  วันที่ 15 มีนาคม 2564, เข้าถึงได้ที่ https://www.senate.go.th/assets/portals/93/       ประชาธิปไตยประชาชนลาว, โครงการส่งเสริมความหลากหลายและความเท่าเทียม
                  fileups/272/files/S%E0%B9%88ub_Jun/7con/ad39.pdf                                       ในโลกของการทำงาน, 2557



              0    สถาบันพระปกเกล้า                                                                                                                  สถาบันพระปกเกล้า
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50