Page 82 - 22376_fulltext
P. 82
เสริมสร้างพลังพลเมือง
โครงการปฏิบัติการเสริมสร้างพลังพลเมือง
จังหวัดร้อยเอ็ด ปีงบประมาณ 2563
จังหวัดร้อยเอ็ด
กลุ่มตัวอย่าง และวิธีการเก็บข้อมูล 1. สมาชิกสภาพลเมือง 2. Key Informant 3. สมาชิกในกิจกรรม และโครงการภายใต้ สภาพลเมือง โดย 1. สังเกตแบบมีส่วนร่วม 2. สัมภาษณ์
ตารางที่ 3.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างกรอบคิดในการศึกษา ความหมาย ประเด็นสำหรับวิเคราะห์ข้อมูลจากภาคสนาม และการเก็บข้อมูล
ประเด็นสำหรับการวิเคราะห์ - ผู้เข้าร่วมมีความแตกต่างกันในความสามารถ อาชีพ เชี่ยวชาญ เพศ มุมมอง - ผู้เข้าร่วมได้รับการส่งเสริมความเท่าเทียมของโอกาสในการมีส่วนร่วม - กระบวนการสามารถเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ ความสามารถระหว่างสมาชิก - กระบวนการสามารถพัฒนาความมั่นใจในกับสมาชิกในด้านการช่วยเหลือตัวเอง - กระบวนการสามารถสร้างความรับรู้ตนเองว่
บทที่ 3 ตารางที่ 3.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างกรอบคิดในการศึกษา ความหมาย ประเด็นสำหรับวิเคราะห์ข้อมูลจาก - ผู้ที่มาเข้าร่วมมีความประสงค์ในการพัฒนาพื้นที่ - ผู้เข้าร่วมสามารถร่วมคิดร่วมทำร่วมแสดงความคิดเห็น - ผู้เข้าร่วมมีอิสระในการทำกิจกรรมที่สนใจ - ผู้เข้าร่วมหรือสมาชิกมีการแบ่งปันความรู้ระหว่างกัน ประสบการณ์ - กระบวนการมีการสื่อสารเป้าหมายและสิ
ความหมาย การเปิดให้ทุกคนที่มีความประสงค์ เข้าร่วมเป็นสมาชิกและประสงค์จะร่วม พัฒนาพื้นที่เข้าร่วมกับสภาพลเมือง และ ทุกคนที่เป็นสมาชิกมีส่วน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับประโยชน์ ในทุกกิจกรรมของ สภาพลเมือง โดย ตระหนักถึงความแตกต่าง ของสมาชิก ในความสามารถ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ ทำให้สมาชิกได้เรียนรู้ กันและกันและทำงานร่วมกัน มีการส
ภาคสนาม และการเก็บข้อมูล วัตถุประสงค์ / ประเด็นศึกษา วัตถุประสงค์ ศึกษารูปแบบการทำงานของสภาพลเมืองร้อยเอ็ด 1. การมีส่วนร่วมและ ให้ทุกคนเข้าร่วม (Inclusion/participation) 2. การสนับสนุนด้านความรู้ และข้อมูลข่าวสาร 3. การมีบทบาทหน้าที่ และระบบในการสนับสนุน อย่างเหมาะสม (System /
สถาบันพระปกเกล้า
(Knowledge / Information) function) สถาบันพระปกเกล้า
สถาบันพระปกเกล้า
38