Page 83 - 22376_fulltext
P. 83
เสริมสร้างพลังพลเมือง
โครงการปฏิบัติการเสริมสร้างพลังพลเมือง
จังหวัดร้อยเอ็ด ปีงบประมาณ 2563
จังหวัดร้อยเอ็ด
กลุ่มตัวอย่าง และวิธีการเก็บข้อมูล 1. สมาชิกสภาพลเมือง 2. Key Informant 3. สมาชิกในกิจกรรมและ โครงการภายใต้ สภาพลเมือง 1. สังเกตแบบมีส่วนร่วม 2. สัมภาษณ์
โดย
ประเด็นสำหรับการวิเคราะห์ - มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการทำงานและข้อมูลด้านอื่น ๆ เพือนำไปปรับปรุง - สมาชิกรับรู้ความสามารถของตนเองในการแก้ไขปัญหาพัฒนา พท.ได้ - สมาชิกรับรู้ความสำคัญและบทบาทในการสร้างการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ - มีการเชื่อมโยงเครือข่ายและหน่วยงานที่สามารถสนับสนุนงานเพื่อประโยชน์
- สมาชิกมีความร่วมมือในการทำงาน - สมาชิกเข้าร่วมรับประโยชน์ - สมาชิกมีการขยายเครือข่ายเพิ่มกับกลุ่มต่าง ๆ - สมาชิกมีความร่วมมือกับเครือข่าย - สมาชิกมีการทำงาน และพัฒนา - มีระบบการถอดบทเรียนของการทำงาน - มีการถ่ายทอดการเรียนรู้ - มีการนำความรู้ไปใช้หรือไปขยายผลต่อ - มีการนำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายต่อหน่วยงานเกี่ยวข้อง - มีการติดต
การสร้างความร่วมมือที่มีประโยชน์ร่วมกัน ร่วมรับและร่วมเสียประโยชน์ไปด้วยกัน มีการสร้างความสัมพันธ์ทางบวกกับ กลุ่มต่าง ๆ เพื่อร่วมกันพัฒนา และคงไว้ซึ่ง ความสัมพันธ์และการส่งเสริมการทำงาน ร่วมกันแบบหุ้นส่วน มีการสร้างช่องทางให้ข้อมูป้อนกลับ และการและเปลี่ยนเพื่อเกิดการเรียนรู้และ การถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและกัน ภายในสมาชิกและพัฒนาต่อ
ความหมาย การรับรู้ต่อตนเองถึงความรับผิดชอบต่อสังคม การใด ๆ ทางการเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ / ประเด็นศึกษา 4. ความร่วมมือและ การบูรณาการ (Collaboration/ Integration) 5. การเรียนรู้แบบองค์กร แห่งการเรียนรู้ (learning organization) พลเมืองสามารถมีส่วนร่วม ในการเสนอนโยบายต่อ ภาครัฐ (Active citizen) พลเมืองความตระหนัก ในอำนาจของตนเอง (Self – efficacy) การมีเครือข่ายเพื่อ การพึ่งพาตนเอง
สถาบันพระปกเกล้า
สถาบันพระปกเกล้า
39
สถาบันพระปกเกล้า