Page 77 - 22376_fulltext
P. 77

เสริมสร้างพลังพลเมือง
                                                               จังหวัดร้อยเอ็ด


                       ขั้นตอนที่ 2 พัฒนากรอบการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ กล่าวคือ

                  แนวทางการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่าง

                       ขั้นตอนที่ 3 กำหนดพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย ในที่นี้ พื้นที่เป้าหมาย

                  และกลุ่มเป้าหมายเพื่อการสังเกตแบบมีส่วนร่วมคือสภาพลเมืองและ
                  สมาชิกสภาพลเมือง และกลุ่มเป้าหมายสำหรับการสัมภาษณ์เชิงลึก คือ

                  การสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key informants) เป็นการสุ่มตัวอย่าง
                  แบบเฉพาะเจาะจง
                       1)  ประธานสภาพลเมือง

                       2)  รองประธานสภาพลเมือง
                       3)  แกนนำโครงการ/กิจกรรม

                       4)  ผู้เข้าร่วมโครงการ หรือ สมาชิกสภาพลเมือง

                       ขั้นตอนที่ 4 เตรียมเครื่องมือ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกและแบบ
                  บันทึกการสังเกต


                       ขั้นตอนที่ 5 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมาย ประมวลผล
                  รวบรวมข้อมูล นำมาวิเคราะห์และจัดทำรายงาน


                  3.2  เครื่องมือในการศึกษา


                       เครื่องมือศึกษากระบวนการเสริมสร้างพลังพลเมืองของสภาพลเมือง

                  ได้แก่










 สถาบันพระปกเกล้า
                                              สถาบันพระปกเกล้า
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82