Page 104 - kpi22228
P. 104

96



               โดยการรณรงคเสริมสรางความรู ความเขาใจใหคนในกรุงเทพฯ เขาใจผูชุมนุม และออกแถลงการณปกปอง

               สิทธิเสรีภาพในการชุมนุม พรอมทั้งเสนอทางออกใหนายกรัฐมนตรียุบสภาภายใน 3 เดือน เพื่อคลี่คลาย
               สถานการณ เปนตน (บัณฑิต จันทรโรจนกิจ 2563, 219)

                       แมวาจะมีการเปดโตะเจรจาระหวางฝายผูชุนนุมและรัฐบาล เมื่อวันที่ 28-29 มีนาคม 2553

               ซึ่งหลายฝายมองวาสถานการณจะเริ่มคลี่คลายลง แตกลับไมไดขอยุติรวมกันในการหาทางออกใหกับ
               สถานการณความขัดแยงในขณะนั้น ผลที่ตามมาคือ พ.ต.ท. ทักษิณและแกนนําผูชุมนุมกลุม นปช. ประกาศ

               ระดมมวลชนเพื่อชุมนุมใหญในชวงตนเดือนเมษายน 2553 โดยยึดบริเวณสี่แยกราชประสงคเปนจุดตั้งเวทีหลัก

               ในการชุมนุม ควบคูไปกับเวทีบริเวณสะพานผานฟาลีลาศ ขณะที่ฝายรัฐบาลออกประกาศพระราชกําหนด
               สถานการณฉุกเฉิน และตั้งศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉิน (ศอฉ.) มีสุเทพ เทือกสุบรรณ

               รองนายกรัฐมนตรี เปนผูอํานวยการเพื่อควบคุมการชุมนุมของกลุม นปช.

                       กระทั่ง ในวันที่ 10 เมษายน 2553 ศอฉ. สั่งการทหารปฏิบัติการ “ขอคืนพื้นที่” บริเวณสะพาน
               ผานฟาลีลาศ โดยการใชกําลังเขาสลายการชุมนุมตั้งแตชวงบายตอเนื่องไปจนถึงชวงเวลากลางดึก

               การเผชิญหนากับระหวางฝายผูชุมนุมและเจาหนาที่ปฏิบัติการที่กินพื้นที่เปนบริเวณกวางถึงสี่แยกคอกวัว

               ถนนดินสอ และหนาโรงเรียนสตรีวิทยา สงผลใหมีผูบาดเจ็บและเสียชีวิตเปนจํานวนมาก มีรายงานวามี
               ผูเสียชีวิต 20 ราย เปนพลเรือน 15 ราย ทหาร 5 ราย บาดเจ็บ 858 คน (บัณฑิต จันทรโรจนกิจ 2563, 224)

                       ภายหลังปฏิบัติการขอคืนพื้นที่ แกนนํา นปช.เรียกรองใหนายกรัฐมนตรียุบสภาและเดินทางออกนอก

               ประเทศ เพื่อแสดงความรับผิดชอบตอความสูญเสียที่เกิดขึ้น ขณะที่ฝายรัฐบาล โดยสุเทพ เทือกสุบรรณ
               ในฐานะ ผอ.ศอฉ. แถลงตอบโตวา ความสูญเสียที่เกิดขึ้นไมไดเกิดจากฝมือเจาหนาที่รัฐ แตอางวาเปน

               กลุมติดอาวุธแฝงตัวอยูในกลุมผูชุมนุม ตอมาฝายผูชุมนุมไดสลายเวทีชุมนุมบริเวณสะพานผานฟาลีลาศ

               เพื่อยุบรวมเขากับเวทีบริเวณสี่แยกราชประสงค พรอมประกาศระดมพลขับไลรัฐบาลอีกครั้ง
                       การชุมนุมยืดเยื้อออกไปถึงชวงกลางเดือนพฤษภาคม 2553 และไมมีทาทีจะยุติการชุมนุมโดยงาย

               ขณะที่ฝายรัฐบาลเริ่มบังคับใชมาตรการเขมขนขึ้น ทําใหบรรยากาศสอเคาวาจะลุกลามบานปลายและสุมเสี่ยง

               ตอการใชความรุนแรงตลอดเวลา กระทั่งในวันที่ 13 พฤษภาคม พล.ต. ขัตติยะ สวัสดิผล (เสธ.แดง)
               ผูทรงคุณวุฒิกองทัพบก ถูกยิงที่ศีรษะและเสียชีวิตในเวลาตอมา จากเหตุการณนั้นไดเกิดเสียงระเบิดขึ้นและ

               เสียงปนดังเปนชุดหลายครั้งบริเวณใกลแยกศาลาแดง ตอมามีการปะทะกันระหวางฝายผูชุมนุมกับเจาหนาที่

               ทหารอีกหลายระลอกและตอเนื่องหลายวัน
                       แผนปฏิบัติการกระชับพื้นที่ของ ศอฉ.ไดเริ่มตนขึ้นในเวลา 03.00 น. ของวันที่ 19 พฤษภาคม

               สงผลใหเกิดการปะทะในหลายพื้นที่โดยรอบ กระทั่งในชวงบาย แกนนํา นปช.ประกาศยุติการชุมนุมและเดิน

               ทางเขามอบตัวที่สํานักงานตํารวจแหงชาติ ซึ่งหลังจากนั้นปรากฏวาเกิดจลาจลในหลายพื้นที่ อาคารกวา 30
               แหง ถูกเผา อาทิ หางเซนทรัลเวิลด โรงภาพยนตรสยาม สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปราม

               ยาเสพติด (ป.ป.ส.) ฯลฯ ขณะที่คนเสื้อแดงที่จัดการชุมนุมที่หนาศาลากลางจังหวัดและเกิดกรณีเผาสถานที่

               ราชการหลายแหง
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109