Page 180 - kpi22173
P. 180

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  มีความสุขที่ไดชวยเหลือผูอื่นและทําประโยชนใหแกชุมชน ไดรับการยอมรับจากคนในชุมชนและอื่นๆ

                  อีกทั้งดวยความเปนสตรีถิ่นที่มีวัฒนธรรมความออนโยน เอาใจใสคนอื่นตองดูแลคนในครอบครัว

                  ซึ่งสามารถขยายไปสูการดูแลผูอื่นในครอบครัวอื่นๆ อสม. สวนใหญแลวเปนคนในชุมชนที่อาศัยในพื้นที่

                  มานานหรือไมก็เติบโตขึ้นมาในชุมชนนั้นๆ ทําใหเปนที่รูจักมักคุนกับสมาชิกชุมชนคนอื่นๆ ทําใหการดูแล

                  หรือปฏิบัติตามมาตรการของรัฐบาลที่สงผานจากคนในชุมชนที่เปน อสม. สูสมาชิกคนอื่นๆ และนําไปสูการ

                  ปฏิบัติไดงายขึ้น โดย อสม. เปนผูมีบทบาทชวยเหลือทั้งรัฐบาล บุคลากรทางการแพทยและคนในชุมชน
                  ซึ่งเปนปจจัยสําคัญในการทุเลาการแพรระบาดของโรค COVID-19 ในระหวางการแพรระบาด อสม.

                  ไดแสดงบทบาทอยางโดดเดนในหลายๆ ดาน ดังนี้


                                 ประการแรก บทบาทในฐานะผูดูแลสุขภาพชมชน (Community’s caregivers) บทบาท

                  อสม. กอนหนาที่จะเกิดการแพรระบาดของโรค COVID-19 ในฐานะผูดูแลสุขภาพชุมชนในดานตางๆ

                  โดย อสม. ไดรับการฝกอบรมความรูเบื้องตนและพัฒนาความรูเฉพาะดานใหแก อสม. ในการดูแลในชุมชน
                  แบบเฉพาะดานไดดียิ่งขึ้น เชน มีการพัฒนาอบรม อสม. เชี่ยวชาญทั้ง 12 สาขา ไดแก สาขาการเฝาระวัง

                  ปองกันและควบคุมโรคติดตอ สาขาการสงเสริมสุขภาพ สาขาสุขภาพจิตชุมชน สาขาปองกันและแกไข

                  ปญหายาเสพติดในชุมชน สาขาบริการในศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) และการสรางหลักประกัน

                  สุขภาพ สาขาการคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ สาขาภูมิปญญาทองถิ่นดานสุขภาพ สาขาการปองกันและ

                  แกไขปญหาเอดสในชุมชน สาขาการจัดการสุขภาพชุมชนและอนามัยสิ่งแวดลอม สาขานมแมและอนามัย
                  แมและเด็ก สาขาทันตสุขภาพและสาขาการปองกันและควบคุมโรคไมติดตอ ทั้งนี้ เพื่อให อสม. เกิดความ

                  เชี่ยวชาญและเฉพาะเจาะจง ซึ่งจากการจัดจําแนกสาขาและการฝกอบรมดังกลาว ทําให อสม. มีความรูที่

                  จําเปนและเพียงพอตอการใหการดูแลสุขภาพชุมชนเบื้องตนได ซึ่งในชวงที่เกิดการแพรระบาด ความรู

                  ที่กลาวมาสามารถนํามาประยุกตใหในบริบทพื้นที่จําเพาะไดเปนอยางดี ที่สงเสริมตอการทํางานของ อสม.

                  ที่มุงไปที่การสงเสริมชาวบานและชุมชนใหรูจักดูแลตนเองและวิธีการดูแลผูอื่นโดยการใหความรูแกคน
                  ในชุมชนในการปองกันโรค COVID-19 เชน การสวมหนากากอนามัย หมั่นลางมือและการเวนระยะหาง

                  ทางกายภาพ เปนตน


                                 ประการที่สอง บทบาทในฐานะทีมเฝาระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and

                  Rapid Response Team--SRRT) ถือวาเปนกลไกหลักสําคัญของกรมควบคุมโรคในการจัดการกับการแพร

                  ระบาด ซึ่งมีบทบาทที่สําคัญในการหยุดการแพรเชื้อหลายครั้งหลายครา ไมวาจะเปนโรคระบาดทั้งในคน

                  และโรคระบาดในสัตว อสม. มีประสบการณในการรับมือกับการแพรระบาดของโรคมาหลายครั้ง นับตั้งแต
                  การแพรเชื้อของโรค SARS, Avian Influenza, and Influenza H1N1 เปนตน ซึ่ง อสม. มีบทบาทสําคัญ







                                                           179
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185