Page 184 - kpi22173
P. 184

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  ทองถิ่นใหปองกันตนเองจากโรค COVID-19 ไดอยางมีประสิทธิภาพ อีกทั้งระบบการสื่อสารสงเสริมใหเกิด

                  การประสานความรวมมือขามภาคสวนของรัฐเพื่อบรรเทาการสูญเสียโอกาสและรายไดระหวางการแพร

                  ระบาด ในขณะที่การออกระเบียบตางๆ อาจสงผลตอการควบคุมโรค เชน อาจนําไปสูการกักตุนหนากาก

                  ขอมูลที่เปนเท็จเกี่ยวกับโรค รวมถึงความลมเหลวในการควบคุมการอพยพ

                                 ประการที่สอง  ควรปรับเปลี่ยนวิธีการดําเนินการเฝาระวังและปองกันการแพรระบาด

                  ที่มีความจําเพาะสอดคลองกับบริบทของแตละพื้นที่ แมวาผลการวิจัยครั้งนี้จะไมไดแสดงถึงขอบงชี้อยาง

                  ชัดเจนวา ประสิทธิภาพในการดําเนินงานของ อสม. มีความแตกตางกันในเชิงพื้นที่ อยางไรก็ตาม จากการ

                  ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของไดชี้ใหเห็นวา คนที่อาศัยอยูในชุมชนเมืองและชุนชนชนบท

                  ตางมีวิธีคิดและพฤติกรรมที่แตกตางกันในเชิงภูมิสังคมที่สงผลตอการดําเนินงานของ อสม. ในฐานะกลไก

                  ขับเคลื่อนสุขภาพชุมชน (Community health) ที่ทรงประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่นอก

                  ตัวเมืองหรือชุมชนชนบทซึ่งมีภูมิสังคมแตกตางจากชุมชนในตัวเมืองในแงของความผูกพันระหวางสมาชิก
                  ในชุมชนและ อสม. ทองถิ่น ที่มีความกระชับแนนมากกวาบริเวณพื้นที่ในตัวเมือง ดวยเหตุนี้เพื่อเปนการ

                  เตรียมการที่ดีหากวาเกิดโรคระบาดขึ้นอีกในอนาคต การดําเนินการของ อสม. ก็ควรมีการปรับเปลี่ยนให

                  เขากับบริบท (Customisation) ที่มีความเปนชุมชนเมือง (Urban) และชุมชนชนบท เพื่อใหเกิดความ

                  คลองตัวและเหมาะสมกับบริบทเฉพาะของแตละพื้นที่

                                 ประการที่สาม  ควรมีการสงเสริมสวัสดิการของ อสม. ใหมากขึ้น เชน คาเดินทาง คาปวย

                  การ สวัสดิการที่ครอบคลุมการรักษาโรงพยาบาลเอกชนหรือครอบคลุมการเบิกจายนอกเหนือยานอกบัญชี

                  ยาหลักแหงชาติ เนื่องจากสวัสดิการรักษาพยาบาลของ อสม. ในปจจุบันถึงแมจะมีการเพิ่มสวัสดิการ

                  บางอยาง นับตั้งแต 8 มกราคม พ.ศ. 2563 เปนตนมา ทางภาครัฐไดมีการปรับปรุงระเบียบกระทรวง

                  สาธารณสุขวาดวยการชวยเหลือในการรักษาพยาบาล (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2562 ให อสม.ทุกคน ไดรับสิทธิคา
                  หองพิเศษและคาอาหารพิเศษฟรี สวนบุคคลในครอบครัว อสม. ยังคงใหเรียกเก็บรอยละ 50 ของอัตรา

                  ที่กําหนด โดยผูที่มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลจากสวนราชการ ใหเรียกเก็บตามสิทธิกอน สวนที่เกิน

                  ใหเรียกเก็บรอยละ 50 เมื่อเขาพักรักษาตัวในโรงพยาบาลภาครัฐสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เปนตน

                  อยางไรก็ตาม ในการรักษายังไมสามารถเบิกจายยานอกบัญชียาหลักแหงชาติได อีกทั้งโรงพยาบาลรัฐที่มี

                  ความแออัดและแพทยเฉพาะทางและอุปกรณทางการแพทยบางอยางสามารถเขาถึงไดในโรงพยาบาล

                  เอกชนที่สิทธิการรักษา อสม. ไมครอบคลุม ดังนั้นทางภาครัฐจึงควรปรับปรุงระบบสวัสดิการใหแก อสม.

                  ใหมากขึ้น โดยอาจไมไดเนนไปที่คาตอบแทนที่เปนตัวเงินมากนักเพื่อเปนขวัญและกําลังใจในการทํางาน









                                                           183
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189