Page 183 - kpi22173
P. 183

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  เชียงใหม โดยวิเคราะหตามกรอบแนวคิดและทฤษฎีจากเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของทั้งในประเทศ

                  และตางประเทศ


                             อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานและระบบสนับสนุนที่เกี่ยวของกับการสาธารณสุข

                  มูลฐาน (Primary healthcare) มีความสําคัญอยางยิ่งยวดตอการทุเลาการแพรระบาดของโรค COVID-19
                  และการแพรระบาดของโรคอื่นๆ ในอนาคต โดยเฉพาะอยางยิ่งการหนุนเสริมใหปจเจกชนและชุมชน

                  มีความยืดหยุนตอประเด็นปญหาดานสุขภาพ หากไมมีการดําเนินงานของ อสม. ระบบสุขภาพของประเทศ

                  ไทยอาจจะเกิดภาระดานตนทุนการรักษามากมายและจํานวนคนปวยอาจลนโรงพยาบาล ซึ่งอาจสงผลให

                  ระบบสาธารณสุขกลายเปนอัมพาต รวมไปถึงเกิดปญหาดานเศรษฐกิจและสวัสดิการของประเทศ

                             เมื่อมีการประกาศพระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน ในเดือนมีนาคม

                  พ.ศ. 2563 เพื่อสกัดกั้นการแพรระบาด สงผลใหเกิดการจํากัดการเดินทางขามจังหวัดและจัดตั้งดาน

                  คัดกรองตลอดแนวเขตแดนเสนทางขามจังหวัด อยางไรก็ตาม กอนที่จะมีประกาศออกมา คนจํานวนมาก

                  ไดเริ่มเดินทางกลับภูมิลําเนากันบางแลวในชวงเทศกาลวันสงกรานต สงผลใหการระบุผูติดเชื้อมีความ

                  ยุงยากมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นยังมีขาวลือเกี่ยวกับการแพรระบาดที่สับสนและเปนการสรางความยุงยาก

                  ใหกับคนในชุมชนในการปฏิบัติตามแนวทางรัฐบาลเพื่อการปองกันที่ถูกตอง

                             อยางไรก็ตาม อสม. ที่ไดประจําจุดตามดานระหวางจังหวัด มีการสนองตอบตอมาตรการ

                  ปองกันการแพรระบาดและมีความรวมมือกับคณะกรรมการสุขภาพระดับอําเภอ เพื่อประสานใหความ

                  ชวยเหลืองานกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของและไมเกี่ยวของกับสุขภาพโดยตรงในการควบคุมโรค เนื่องจาก

                  อสม. เปนคนในชุมชนที่ตนเองเติบโตมาจึงรูจักมักคุนกับสมาชิกคนอื่นๆ ในชุมชนเปนอยางดี ทําใหไดรับ

                  ความเชื่อมั่นและความไววางใจจากคนในชุมชนและคนที่กลับมาจากตางจังหวัดอีกดวย ดังนั้นความรวมมือ
                  ในการคัดกรองและปฏิบัติตามแนวทางของภาครัฐเพื่อปองกันการแพรระบาดจึงประสบความสําเร็จ ความ

                  ไววางใจระหวางชุมชนและผูใหบริการดานสุขภาพจึงมีความสําคัญเปนอยางมากในหวงเวลาของการแพร

                  ระบาด โดยเฉพาะอยางยิ่งในสถานการณที่เกิดปญหาและในภาวะที่ทรัพยากรมีอยูอยางจํากัด โดยยังมี

                  ประเด็นที่ตองพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของ อสม. ดังนี้

                                 ประการแรก ควรมีการบรูณาการขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการแพรระบาดระหวางพื้นที่ของ

                  อสม. ใหมากขึ้น เพราะความสําเร็จในการควบคุมโรคนั้นยังจํากัดอยูบางอําเภอไมใชระดับจังหวัด เนื่องจาก

                  ขาดการสื่อสารอยางเปนระบบซึ่งสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารขามจังหวัดเพื่อการแบงปนและ

                  กําหนดแนวทางปฏิบัติที่ดีในการปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรค COVID-19 เชน ประเทศ

                  ไตหวันถือวาเปนตัวอยางที่ดีที่แสดงใหเห็นถึงระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการแจงเตือนคนใน





                                                           182
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188