Page 185 - kpi22173
P. 185

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  ไมกอใหเกิดภาระตอ อสม. มากเกินไป ถึงแม อสม. เองจะตระหนักดีวาตนเองเขามาเปนอาสาสมัครทํางาน

                  เพื่อสวนรวม ชุมชนและสังคม


                                 ประการที่สี่ ควรมีการฝกอบรมและใหความรูเกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศดาน

                  สุขภาพใหแก อสม. หรือมีการคัดเลือกคนรุนใหมเขามาทดแทน อสม. ที่กําลังปลดประจําการ เนื่องจากวา
                  ในปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสมัยใหมหรือโซเชียลมีเดีย มีบทบาทในการเปนชองทางการสื่อสาร

                  ที่สําคัญมากที่รัฐและประชนชนสวนใหญใชในการสื่อสารกันอยางแพรหลาย การมีความรูความเขาใจ

                  วิธีการเขาถึงสื่อ รูเทาทันสื่อและรูทันสารสนเทศดานสุขภาพ รูจักใชสื่อสังคมออนไลนหรือสื่อสมัยใหมของ

                  อสม. ที่คนสวนใหญของประเทศใชเปนชองทางในการรับและสงสาร อาจมีสวนในการเพิ่มประสิทธิภาพ

                  ในการทํางานในเชิงพื้นที่/ชุมชนไดมากขึ้น

                                 ประการสุดทาย ควรมีการเพิ่มพูนความรูดานการดูแลสุขภาพของชุมชนใหแก อสม.

                  อยางตอเนื่องและทันสมัย เนื่องจากวาการแพรระบาดของโรค COVID-19 ในปจจุบันทําใหตระหนักวาการ

                  เรียนรูวิธีการดูแลตนเองใหถูกตองตามหลักการสาธารณสุขและตองเปนขอมูลที่ทันสมัยและเชื่อถือได

                  เปนเรื่องสําคัญเปนอยางยิ่ง ซึ่งสวนใหญขอมูลเหลานี้มักจํากัดอยูกลุมบุคลากรทางการแพทย เชน แพทย

                  พยาบาลและผูที่ทํางานในระบบโดยอาชีพ ดังนั้นการฝกอบรมและการปรับขอมูลใหทันสมัยอยางตอเนื่อง

                  ใหแก อสม. จึงเปนอีกแนวทางในการเสริมสรางใหเกิดการดูแลชุมชนในชุมชนอยางตอเนื่อง

                             การดําเนินงานของ อสม. ระหวางการแพรระบาดของโรค COVID-19 ถือวาเปนเครือขาย

                  บุคลากรทางการแพทยในระดับชุมชนทองถิ่นที่มีสําคัญอยางยิ่งยวดในการปองกันและควบคุมโรค

                  ซึ่งสอดคลองกับนโยบายสุขภาพระดับโลก (Global healthcare policy) ภายใตแนวคิดสาธารณสุขมูล

                  ฐาน (Primary healthcare) ซึ่งระบุไวในคําประกาศ Declaration of Astana 2018 โดยคานิยมที่อิง
                  อยูกับความไวเนื้อเชื่อใจ (Trust-based value) ตามแนวคิดสําคัญของสาธารณสุขมูลฐาน ชวยใหผูคน

                  ที่อาศัยอยูในพื้นที่หางไกลจากการเขาถึงบริการสาธารณสุข อยางไรก็ตาม การเสริมสรางสมรรถนะของ

                  อสม. ใหสามารถใชเทคโนโลยีในการสื่อสารระหวางกันเปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการใหบริการ

                  ไดทันเวลาในชวงที่มีการแพรระบาด นอกจากนั้น การทําความเขาใจความสัมพันธระหวางบุคคลและ

                  ผูใหบริการดูแลสุขภาพในตัวเมืองเปนการปลดล็อกโอกาสเพื่อการทุเลาการแพรระบาดอยางหนักที่อาจจะ
                  เกิดขึ้นในพื้นที่ประชากรหนาแนนได













                                                           184
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190