Page 177 - kpi22173
P. 177
“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”
วิเคราะหบทบาทการมีสวนรวมของสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสราง
การมีสวนรวมของชุมชนเพื่อปองกัน เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
สายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม
การตีความหมาย : สถานะความเปนสตรี เหตุจูงใจ และผลที่เกิดขึ้นตอสตรีถิ่น อสม.
จากการเก็บขอมูลภาคสนามพบขอมูลเชิงพื้นที่สําคัญหลายประการที่สามารถเชื่อมโยง
คําอธิบายบทบาทการมีสวนรวมของสตรีถิ่น อสม. ในการพัฒนาชุมชนทองถิ่นและการดูแลสุขภาพของ
ชุมชน โดยการวิจัยครั้งนี้พบวา ผูใหขอมูลสําคัญเกิดและเติบโต ตั้งรกราก สรางครอบครัวหรือแตงงานใน
พื้นที่หรือยายมาอาศัยในพื้นที่มานานจนกระทั่งมีความรูสึกวาตนเองเปนคนในพื้นที่ และมีสถานภาพทาง
เศรษฐกิจและสังคมที่แตกตางกันออกไปซึ่งใหคําอธิบายที่แตกตางจากความเขาใจดั้งเดิมวา สตรีถิ่น อสม.
นั้นนาจะเปนเพียง “หญิงชาวบาน” ซึ่งใหความหมายและความรูสึกไปในทางลบและสะทอนใหเห็นภาวะ
ที่สตรีถูกกดทับดวยบรรทัดฐาน คานิยม และวัฒนธรรมของสังคมไทย และคนเหลานั้นนาจะมีระดับ
การศึกษา/ความรูไมมากนักและนาจะเปน “แมบาน (ภรรยา)” ซึ่งเปนคําที่อธิบายถึงภาวการณพึ่งพิงผูชาย
และตองแบกรับภาระงานบาน การดูแลลูกและสามีไปพรอมๆ กัน
อยางไรก็ตาม ขอมูลจากการวิจัยชี้ใหเห็นวาสิ่งที่กลาวมาขางตนเปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อน
เปนมุมมองของสังคมไทยดั้งเดิมที่ผูชายมีบทบาทครอบงําและกดทับ แชแข็งบทบาทของสตรีไมใหแสดง
อยางเปดเผยมากนัก กลาวคือ ขอมูลพื้นฐานของสตรีถิ่น อสม. จบการศึกษาตั้งแตระดับประถมศึกษาจนถึง
ระดับปริญญาโท อาชีพหลัก ไดแก รับจาง คาขาย รับราชการ ขาราชการบํานาญ เจาหนาที่ของรัฐ
เจาพนักงานฝายปกครอง นวดแผนไทย และประกอบธุรกิจสวนตัว และมีประสบการณในการทําหนาที่เปน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานตั้งแต 2 ป จนถึง 42 ป ผูใหขอมูลกลาวถึงมูลเหตุและแรงจูงใจใน
การรับหนาที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) วาเกิดจากดวยใจรักในงานอาสา หรือจาก
เครือขายรอบขางและการชักชวนจากผูนําชุมชนหรือมีคนรูจักชักชวน และมีความตั้งใจที่จะพัฒนาชุมชน
ที่ตนอาศัยอยู ซึ่งผลที่เกิดตอ อสม. เองนั้น ผูใหขอมูลกลาววา ตนเองไดรับประสบการณที่ดีในการทํางาน
รวมกันกับผูอื่น ไมวาจะเปนเครือขาย อสม. เอง และหนวยงานภายนอกที่ตองติดตอประสานงานอยูเสมอ
และ อสม. มีโอกาสในการพัฒนาตนเอง การเพิ่มพูนความรูเรื่องการดูแลสุขภาพจากหนวยงานดาน
สาธารณสุข การทํางานรวมกับผูอื่นทําใหเกิดความผูกพันและเครือขายทั้งแบบเปนทางการและไมเปน
ทางการเกิดขึ้น
โดยผูใหขอมูลมองวา สถานะความเปนผูหญิงนั้นมีสวนในการสงเสริมการทํางานในฐานะ
อสม. อยางมาก เนื่องจากความเปนหญิงมีลักษณะของความละเอียดออน รอบคอบ สามารถเขาถึงสมาชิก
176