Page 112 - kpi22173
P. 112

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  กําหนด (Hospital quarantine--HQ) และ 7) สถานที่กักกันทางเลือกในสถานพยาบาล (Alternative

                  hospital quarantine--AHQ) (สํานักขาว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ, 24 พฤศจิกายน 2563)


                             ประเทศไทยประสบความสําเร็จในการปองกันการแพรระบาด ถึงแมจะเปนประเทศแรกที่พบ

                  การแพรระบาดนอกประเทศจีน อาจดวยทีมเฝาระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and Rapid
                  Response Team--SRRT) ซึ่งเปนทีมงานประจําหนวยงานสาธารณสุขที่มีบทบาทหนาที่เกี่ยวกับการ

                  เฝาระวังโรคติดตอ โดยการสอบสวนโรคอยางมีประสิทธิภาพ ทีมเฝาระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วนั้นเกิด

                  ขึ้นมากอนที่จะมีการระบาดในครั้งนี้ เปนแผนการดําเนินงานของกลุมงานควบคุมโรคติดตอ เห็นไดจากคูมือ

                  มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure--SOP) (สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

                  ฉะเชิงเทรา กระทรวงสาธารณสุข, 2560)  ในสวนของกรุงเทพมหานครดําเนินการโดยตรงจากเจาหนาที่

                  ของกรมควบคุมโรค  สวนในพื้นที่ตางจังหวัด ระดับตําบลจะดําเนินการโดยอาศัยอาสาสมัครประจําหมูบาน

                  (อสม.) และเจาหนาที่จากโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) ที่คอย
                  สนับสนุนการทํางานของทีมเฝาระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว อสม. ทําหนาที่ในการใหความชวยเหลือชาวบาน

                  ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อและประสานงานกับ รพ.สต. ดวยความรวมมือจากหลายภาคสวนระหวางสวนที่

                  เกี่ยวของและไมไดเกี่ยวของกับดานสุขภาพ นําโดยบุคลากรทางการแพทยหนวยหนา พยาบาลระดับตําบล

                  ใน รพ.สต. นายอําเภอ นายกองคการบริหารสวนตําบล ลวนเปนที่มาของความสําเร็จในการดําเนินการเพื่อ

                  หยุดยั้งการแพรเชื้อดังที่กลาวมา

                             4) การติดตามและเฝาระวังโรค (Monitoring and surveillance)  กระทรวงสาธารณสุข

                  ใหนิยามเกี่ยวกับผูปวยโรค COVID-19 ตามคํานิยามขององคการอนามัยโลกมาใชในการดําเนินการตาม

                  มาตรการติดตามและเฝาระวังกลาวคือ กรณีผูปวยโรค COVID-19 หมายถึง ผูปวยที่มีอาการไข ไอ เจ็บคอ

                  ทองเสียและปอดอักเสบและในรายที่มีอาการรุนแรงจะมีอาการหายใจติดขัดฉับพลันซึ่งอาจทําใหเสียชีวิตได
                  รายที่ยืนยันการติดเชื้อตองผานการตรวจ PRC สําหรับ SARS-CoV-2 ตรวจที่จมูกและลําคอแลวมีผลตรวจ

                  เปนบวกและตองแจงใหกรมควบคุมโรคทราบภายใน 3 ชั่วโมง ตามขอกําหนด พ.ร.บ. โรคติดตอ พ.ศ.

                  2558

                             การติดตามโรค COVID-19 ขยายไปในหลายภาคสวน รวมไปถึงศูนยดูแลผูสูงอายุซึ่งถือวาเปน

                  กลุมเสี่ยงที่จะเสียชีวิตสูงเมื่อไดรับเชื้อ โดยสวนใหญมีเอกชนเปนเจาของกิจการ มีผูสูงอายุประมาณ

                  22,000 คน อาศัยอยูในศูนยดูแลผูสูงอายุ จํานวนกวา 13,000 คน เปนผูสูงอายุติดเตียง ในชวงการแพร

                  ระบาดของโรค COVID-19 ยังคงตองเปดใหบริการ เนื่องจากวาไมสามารถเขาพักอาศัยกับคนอื่นในบานได
                  อยางสะดวกและปลอดภัย มาตรการปองกันการแพรเชื้อคอนขางเขมงวดมาก อนุญาตใหเขาออกเฉพาะผูที่







                                                           111
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117