Page 111 - kpi22173
P. 111
“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”
3) การแยกตัว
และกักตัว (Isolation and
quarantine) อาศัยอํานาจ
พระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ.
2558 ประเทศไทยกําหนด
มาตรการสาธารณสุขในการ
ตรวจพิสูจนเชื้อ การติดตาม
การรักษา และการกักตัวเปน
เวลา 14 วัน ซึ่งแบงมาตรการ
การกักตัวออกเปน 4 ประเภท
ตามแหลงสถานที่กักกัน
COVID-19 ดังภาพ
ภาพ 5.1 มาตรการการกักตัวออกตามแหลงสถานที่กักกันโรค COVID-19 ของประเทศไทย
3.1) Local quarantine (LQ) : สถานกักกันโรคทองที่สําหรับกักกันผูที่เดินทางขาม
จังหวัด
3.2) State quarantine (SQ) : สถานกักกันโรคแหงรัฐสําหรับกักกันผูที่เดินทางเขามา
ในประเทศ
3.3) Alternative state quarantine (ASQ) : สถานกักกันโรคแหงรัฐทางเลือกสําหรับ
กักกันผูที่เดินทางเขามาในประเทศโดยผูกักกันออกคาใชจายเอง
3.4) Organization quarantine (OQ) : สถานกักกันโรคของหนวยงานสําหรับกักกัน
บุคลากรของหนวยงานที่เดินทางเขามาในประเทศ โดยเปนสถานที่ของหนวยงานนั้นและหามผูกักกันโรค
ออกนอกบริเวณเด็ดขาด 14 วัน
อยางไรก็ตาม ในภายหลังมีการปรับเปลี่ยนใหละเอียดมากขึ้นโดยในปจจุบันประเทศไทยมีการ
กําหนดสถานที่กักกัน 7 รูปแบบ ประกอบดวย 1) สถานที่กักกันที่รัฐกําหนด (State quarantine--SQ)
2) สถานที่กักกันทางเลือก (Alternative state quarantine--ASQ) 3) สถานที่กักกันที่รัฐกําหนดในพื้นที่
(Local quarantine--LQ) 4) สถานที่กักกันทางเลือกในพื้นที่ (Alternative local quarantine--ALQ
5) สถานที่กักกันโดยองคกร (Organizational quarantine--OQ) 6) สถานที่กักกันในสถานพยาบาลที่รัฐ
110