Page 108 - kpi22173
P. 108

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  พรรคอนาคตใหมถูกยุบตั้งแตชวงปลายเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2563 และมีการประทวงอีกครั้งในชวง

                  กลางเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563 พฤติกรรมดังกลาวของรัฐบาลประยุทธนั้นสะทอนใหเห็นวิธีคิดที่มี

                  ฐานที่มั่นแบบเผด็จการเปนอยางมาก ถึงแมดูเหมือนวาวิธีการจัดการกับการแพรระบาดของประเทศไทย

                  พบเห็นไดทั่วไปในหลายประเทศในฟากฝงตะวันตก เชน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ตุรกี ฝรั่งเศส เปนตน

                  เพราะภาพที่เห็นฉากหนาดูเหมือนเปนมาตรการตอบสนองตอการแพรระบาดตามแบบปกติที่หลาย

                  ประเทศดําเนินการ  อยางไรก็ตาม การประทวงเกิดขึ้นในชวงการแพรระบาดระลอกแรกไดผอนคลายลง
                  มากแลว เพื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ และดูเหมือนวารัฐบาลจะใชกฎหมายอยางเลือกปฏิบัติตอ

                  มวลชนอยูหลายกรณี อีกทั้งในชวงบรรยากาศทางการเมืองไทยที่เปนประชาธิปไตย ประเทศไทยเคย

                  ประสบกับการแพรระบาดของโรคซาร (SARS) ในป พ.ศ. 2545 และการแพรระบาดของไขหวัดนกในป

                  พ.ศ. 2556 ภายใตรัฐบาลยิ่งลักษณ แตประเทศไทยสามารถแสดงบทบาทความเปนผูนําและเปนเจาบาน

                  จัดการประชุม SARS Summit ในป พ.ศ. 2546 ระหวางผูนําของกลุมประเทศอาเซียน จีน และฮองกง

                  เพื่อจัดการกับวิกฤติการณการแพรระบาด ในทางตรงกันขามรัฐบาลเผด็จการประยุทธ ชัดเจนวามักมุง
                  ควบคุมประชาชนเกินความจําเปนในการจัดการกับการแพรระบาดผิดแผกกับประเทศอื่นที่กลาวมาขางตน

                  กระนั้นคณะผูวิจัยมิไดแปลกใจอะไรมากนักกับพฤติกรรมดังวา เพราะหัวหนาคณะรัฐประหารไดฉกฉวย

                  แยงชิงอํานาจรัฐบาลของประชาชนและมีที่มาตามหลักการประชาธิปไตยมาตั้งแตป พ.ศ. 2557 นับเปน

                  เวลากวา 7 ป แลว เพียงแตการแพรระบาดของโรค COVID-19 ครั้งนี้เปนการตอกย้ําซ้ําเติมใหเห็นวาสิทธิ

                  และเสรีภาพของคนไทยไดตกอยูในภาวะสั่นคลอนและถูกย่ํายีอยางชัดเจนมากขึ้นเทานั้นเอง

                         เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 2020 องคการอนามัยโลก (World Health Organization: Regional

                  Office for South-East Asia, 2020)  ไดเผยแพรรายงานการเฝาติดตามการตอบสนองของระบบสุขภาพ

                  (COVID-19 Health System Response Monitor (HSRM)) ซึ่งไดรับการออกแบบมาเพื่อการจัดเก็บและ

                  จัดระเบียบขอมูลวาประเทศตางๆ นั้นมีการตอบสนองตอการแพรระบาดของโรค COVID-19 อยางไร
                  ซึ่งจะมีการปรับแกใหเปนปจจุบันเปนระยะ การเฝาติดตามเปนการมุงเปาไปที่การสนองตอบของระบบ

                  สุขภาพและยังรวมความริเริ่มดานสาธารณสุขในภาพกวางๆ โดยนําเสนอขอมูลออกเปน 6 หัวขอหลัก

                  ไดแก การปองกันการแพรเชื้อในพื้นที่ การสรางความมั่นใจวามีโครงสรางพื้นฐานและสมรรถนะกําลังคน

                  เพียงพอในการดําเนินงาน  การจัดบริการสุขภาพอยางมีประสิทธิภาพ  ดานคาใชจายในการรับบริการ

                  ดานการกํากับดูแลและมาตรการในภาคสวนอื่นๆ ที่เกี่ยวของ  ซึ่งคณะผูวิจัยจะนําเสนอเพียงบางหัวขอ
                  เทาที่จําเปนตอการทําความเขาใจแนวทางในการดําเนินงานของรัฐบาลในการตอบสนองตอการแพรระบาด

                  โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 และเกี่ยวของกับประเด็นนําเสนอหลักของงานวิจัยที่เนนไปที่

                  บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ดังนี้





                                                           107
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113